วัฒนธรรมการเรียนรู้ของสตรีไทยมุสลิมในจังหวัดชายแดนภาคใต้

ผู้แต่ง

  • ซอลีฮะห์ หะยีสะมะแอ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยฟาฏอนี

คำสำคัญ:

คำสำคัญ : วัฒนธรรมการเรียนรู้, มัจญ์ลิสอิลมี,การศึกษาอิสลาม, สตรีไทยมุสลิม

บทคัดย่อ

                                                                                                                                      บทคัดย่อ

บทความวิจัยฉบับนี้มีวัตถุประสงค์ คือ 1) เพื่อวิเคราะห์ความสำคัญของ”มัจญ์ลิสอิลมี”ในการพัฒนาคุณภาพชีวิตและครอบครัวของสตรีไทยมุสลิมในจังหวัดชายแดนภาคใต้ 2) เพื่อเสนอแนะแนวทางในการเสริมสร้างวัฒนธรรมการเรียนรู้ของสตรีไทยมุสลิมจังหวัดชายแดนภาคใต้ต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อสร้างสันติสุข การวิจัยนี้เป็นวิจัยแบบผสานวิธี  โดยใช้วิธีการวิจัยเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพควบคู่กัน  กลุ่มตัวอย่าง คือ กลุ่มสตรีที่เป็นคณะกรรมการและสมาชิกโครง
การ”มัจญ์ลิสอิลมี”ในจังหวัดชายแดนภาคใต้  จำนวน 80  คน และผู้ให้ข้อมูล คือ กลุ่มสตรีที่เป็นคณะกรรมการและสมาชิกโครงการ”มัจญ์ลิสอิลมี”จำนวน 28 คน และกลุ่มนักวิชาการ จำนวน 10  คน ได้มาโดยวิธีสุ่มแบบเจาะจง  การรวบรวมข้อมูลวิจัยโดยใช้วิธีการศึกษาเอกสาร  แบบสอบถาม การสังเกตแบบไม่มีส่วนร่วม การสัมภาษณ์เชิงลึกและการสนทนากลุ่ม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ ค่าเฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน  และการวิเคราะห์เนื้อหา
           ผลการวิจัยพบว่า  1.ความสำคัญของ”มัจญ์ลิสอิลมี”ในการพัฒนาคุณภาพชีวิตและครอบครัวของสตรีไทยมุสลิมในจังหวัดชายแดนภาคใต้อยู่ในระดับมากทุกด้าน ตามลำดับ ดังนี้ ด้านการศรัทธา ด้านการปฏิบัติศาสนกิจ ด้านครอบครัว ด้านคุณธรรมจริยธรรม และด้านการใช้ชีวิตในสังคม 2.แนวทางในการเสริมสร้างวัฒนธรรมการเรียนรู้ของสตรีไทยมุสลิมจังหวัดชายแดนภาคใต้ มีดังนี้ 1) พัฒนาหลักสูตรให้มีมาตรฐานบูรณาการวิถีชีวิตให้สอดรับกับสังคมยุคศตวรรษที่ 21
2)คัดสรรวิทยากรที่มีบุคลิกภาพที่ดีและเชี่ยวชาญ 3)เสริมสร้างสื่อหรือหนังสือชุดเสริมสร้างกระบวนทัศน์การสร้างครอบ
ครัวและสังคมสันติ 4)รูปแบบการจัดกิจกรรมควรมีหลากหลายและน่าสนใจ 5)การบริหารโครงการควรมีระบบที่มีมาตร
ฐาน 6) ส่งเสริมการจัดกลุ่มศึกษาอัลกุรอานแก่สมาชิกและสร้างความร่วมมือเครือข่ายเพื่อส่งเสริมวัฒนธรรมการเรียนรู้
 

คำสำคัญ : วัฒนธรรมการเรียนรู้, มัจญ์ลิสอิลมี,การศึกษาอิสลาม, สตรีไทยมุสลิม

References

บรรณานุกรม
กระทรวงศึกษาธิการ.2542.พระราชบัญญัติการศึกษา
แห่งชาติ พ.ศ.2542. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์คุรุสภา
ลาดพร้าว.
เกษตรชัย แหละหีม.2549. รายงานวิจัยเรื่อง บทบาท
ที่เป็นจริงและบทบาทที่คาดหวังของวิทยาลัย
อิสลามยะลาตามทัศนะนักวิชาการมุสลิมใน
สามจังหวัดชายแดนภาคใต้. ยะลา วิทยาลัย
อิสลามยะลา.
ชาย โพธิสิตา.2550.ศาสตร์และศิลป์แห่งการวิจัยเชิง
คุณภาพ.พิมพ์ครั้งที่ 3.กรุงเทพ : อมรินทร์พริ้นติง.
เชค มุหัมมัด บิน ศอลิหฺ อัล-อุษัยมีน. ซุฟอัม อุษมาน
แปลเรียบเรียง.2010.หลักความเชื่อของมุสลิม.
บริษัท เฟิร์สออพเซ็ท 1993 จำกัด.นนทบุรี.
ซอลีฮะห์ หะยีสะมะแอ.2556. มโนทัศน์การศึกษา
อิสลาม. พิมพ์ครั้งที่2.โรงพิมพ์ชานเมือง.สงขลา
เชคมุฮัมมัด ซอและห์ อัลมุนัจญิด, มปป.(มุฮัมมัด บิน
ฟาริด อัลอัชอารีย์ แปล).40 ข้อคิดเพื่อปรุงชีวิตใน
บ้าน.ส.วงศ์เสงี่ยม : กรุงเทพ
ธเนศ ขำเกิด.มปป.รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
พ.ศ.2540และพ.ศ.2550ในส่วนที่เป็นแม่บท
และเกี่ยวข้องกับกฎหมายการศึกษา สืบค้นจาก
https://www.gotoknow.org/posts/333626)
นัศรุลลอฮฺ ต็อยยิบ (แปลและเรียบเรียง).2547. หนทาง
สู่ความสุข. สงขลา.
ฟัตฮี ยะกัน.อิบนุ (อิสมาอีล แปลและเรียบเรียง). 2530.
อะไรคือความหมายการเป็นมุสลิมของฉัน.
กรุงเทพ.
สภาความมั่นคงแห่งชาติ, สานักงาน. 2554.“การรับฟัง
ภาคประชาชนในฐานะผู้มี ส่วนได้เสียโดยตรงกับ
การแก้ไขปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้”รายงาน
การวิจัย ศูนย์นโยบายโลกมุสลิม คณะเศรษฐ-
ศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย.
สมาคมนักเรียนเก่าอาหรับประเทศไทย. 1419 ฮ.ศ.
พระมหาคัมภีร์อัลกุรอานพร้อมคำแปลเป็น
ภาษาไทย.ศูนย์กษัตริย์ฟาฮัด เพื่อการพิมพ์
อัลกุรอาน : อัลมาดีนะฮฺ
สุภางค์ จันทรวานิช. การวิจัยเชิงคุณภาพ.2545.พิมพ์
ครั้งที่ 10. กรุงเทพ.จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
มัสลัน มาหะมะ (บรรณาธิก่าร). 2552. อิสลามวิถีแห่ง
ชีวิต. ปัตตานี. โรงพิมพ์มิตรภาพ.
มุศเฏาะฟา มูฮํมหมัด อัฏ-เฏาะฮาน.นัศรุลลฮฺ ตอยยิบ
แปล.2545.มุสลิมควรมีบุคลิกภาพอย่างไร.
สงขลา.อัรริซาละห์.
มุฮัมมัด อะฎียะฮฺ อัล-อิบรอซี (บรรจง บินกาซัน แปล).
2554.การศึกษาในอิสลาม.สงขลา.สำนักพิมพ์
บ้านอัรกอม.
มุฮัมมัด อับดุลลอฮฺ อัลเคาะฏีบ (สมบูรณ์(ยะอฺกูบ) สืบ
สุข แปล).2554. 10 ขั้นตอนสู่การเป็นมุสลิม
คุณภาพ.กรุงเทพ.
มูหะมัด คอยา.2550.บทบาทของมัสยิดในจังหวัด
ปัตตานีในการเผยแผ่อิสลามและความรู้
กรณีศึกษามัสยิดอิบาดุรรอฮมาน ตำบลปูยุด
อำเภอเมืองปัตตานี.วิทยานิพนธ์ปริญญา
มหาบัณฑิต สาขาวิชาอิสลามศึกษา
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาลัยสงขลา
นครินทร์.
มุฮัมมัด อับดุลลอฮฺ อัลเคาะฏีบ (สมบูรณ์(ยะอฺกูบ) สืบ
สุข แปล).2554.10 ขั้นตอนสู่การเป็นมุสลิม
คุณภาพ.กรุงเทพ.
อิบราเฮ็ม ณรงค์รักษาเขต. 2553.ทฤษฎีใหม่สถาบัน
การศึกษามุสลิมจังหวัดชายแดนภาคใต้ความ
จริงที่ยังไม่ถูกเปิดเผย”สงขลา.สลาตันการวิจัย
และวิชาการ,หจก.หาดใหญ่กราฟฟิก สงขลา.
อิสมาอีลลุตฟี จะปะกียา(อนัส แสงอารี แปล).2557.
คู่มือหะละเกาะฮฺอัลกุรอาน เรียน อ่าน ฟัง
ใคร่ครวญ ร่วมศึกษาและอธิบาย.ปัตตานี.
องค์การบริหารส่วนจังหวัดปัตตานี.
อิสมาอีลลุตฟี จะปะกียา. มันศูร อับดุลลอฮฺ และซุฟอัม
อุษมาน แปล.2015. มูอัลลิม ร็อบบานีย์ ครู
ผู้สร้างประชาชาติ.มหาวิทยาลัยฟาฏอนี ปัตตานี.
Ali Ahmad Madkour.“The Concept of Islamic
Education Curriculum,”.ใน Fathi Hasan
Malkawi and Hussein Abdul Fattah. The
Education Conference Book.(on
“Towards the construction of a
contemporary Islamic Education
Theory”)1992. 1992. Amman. Islamic
Studies and Research Association.
Hashim, Rusnani.1996. Educational Dualism in
Malaysia : Implication for Theory and
Practice. Kuala Lumpur.Oxford University
Press.
Khalid Hamid Al-Hazimi.2002.Usul al-Tarbiyah
al-Islamiah. Darul Alam Al Kitab. Al-
Riyadh, Saudi Arabia.
Rosnani Hashim. Kurikulum Pendidikan Dari
Perspektif Islam Dalam Konteks
Pendidikan di Malaysia. 2001. Journal
Pendidikan Islam. Volume 9. No.4.
Malaysia. National University of Malaysia.
Shamsoodien B. Parker.1997. A Study of
Management System in Distance
Learning : Implication for the
International Islamic University
Malaysia. Unpublished Master of M.Ed
Thesis, International Islamic University
Malaysia.
Waseem M. Fathalla.”From Quality of Life
to Value of Life: An Islamic Ethical
Perspective”สืบค้นจาก
http://www.ijmbs.org.
Watchareeya Wanglem.1997. Ideal and Actual
Teaching Behaviors (Roles) as
Perceived by Islamic Studies Teachers
in the Public Secondary Schools in
Southern Border Provinces of
Thailand. Unpublished Master of M.Ed.
Thesis, International Islamic University
Malaysia.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2021-12-01

How to Cite

หะยีสะมะแอ ซ. (2021). วัฒนธรรมการเรียนรู้ของสตรีไทยมุสลิมในจังหวัดชายแดนภาคใต้. วารสาร อัล-ฮิกมะฮฺ, 11(21), 127–141. สืบค้น จาก https://so01.tci-thaijo.org/index.php/HIKMAH/article/view/248142