การสร้างแบบวัดพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์การ สำหรับพนักงานในสถานประกอบการอุตสาหกรรมยานยนต์ ในเขตภาคตะวันออก

Main Article Content

อภิพร สินเหลือ

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อพัฒนาแบบวัดพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์การ 2) เพื่อตรวจสอบความตรงเชิงโครงสร้างของแบบวัด 3) เพื่อหาค่าอำนาจจำแนกของแบบวัด 4) เพื่อหาค่าความเชื่อมั่นของแบบวัด กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในงานวิจัยเป็นพนักงานที่ปฏิบัติหน้าที่ในการผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ในสถานประกอบการอุตสาหกรรมยานยนต์ในเขตภาคตะวันออก ที่มีผลการประเมินการปฏิบัติงานในระดับดีขึ้นไป จำนวน 215 คน จากการสุ่มตัวอย่างแบบง่าย เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบวัดพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์การ มีค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับเท่ากับ 0.961 สถิติในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ การทดสอบความเชื่อมั่น การแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสัมประสิทธิ์การกระจาย ระดับความเบ้ ค่าความโด่ง และวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยั่งยืน  


ผลการศึกษา พบว่า 1) แบบวัดพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์การสำหรับพนักงานในสถานประกอบการอุตสาหกรรมยานยนต์ในเขตภาคตะวันออก มี 5 องค์ประกอบ คือ พฤติกรรมการช่วยเหลือผู้อื่น พฤติกรรมการคำนึงถึงผู้อื่น พฤติกรรมการอดทนอดกลั้น พฤติกรรมการให้ความร่วมมือ พฤติกรรมการสำนึกในหน้าที่ และ 2) คุณภาพของแบบวัดพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์การสำหรับพนักงาน มีค่าความเที่ยงตรงระหว่าง 0.60 – 1.00  ค่าอำนาจจำแนก 0.363 ถึง 0.758 และค่าความเชื่อมั่น 0.961 

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

กลุ่มอุตสาหกรรมยานยนต์. ยุทธศาสตร์ยานยนต์ไทย สู่ความยั่งยืน. สืบค้นจาก https://goo.gl/9T14Pk.

ฉัตรศิริ ปิยะพิมลสิทธิ์ และอุทัยวรรณ สายพัฒนะ. (2556). ความเที่ยงตรงและความเชื่อมั่น. สืบค้นจาก http://www.watpon.com/Elearning/validity.pdf.

ทิพย์สุคนธ์ จงรักษ์. (2556). อิทธิพลของคุณลักษณะงาน ที่มีผลต่อความผูกพันต่อองค์กร ความพึงพอใจในงาน และพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์กร (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี, ปทุมธานี.

ธีรศักดิ์ อุ่นอารมย์เลิศ. วิธีวิจัยทางพฤติกรรมศาสตร์และสังคมศาสตร์ [เอกสารการสอนรายวิชา 464 460]. มหาวิทยาลัยศิลปากร, นครปฐม.

นงลักษณ์ วิรัชชัย. (2542). โมเดลลิสเรล: สถิติวิเคราะห์สำหรับการวิจัย (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์.

นฤเบศร์ สายพรหม. (2548). ความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้ความยุติธรรมในองค์การ ความผูกพันต่อองค์การกับพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีในองค์การของพนักงานในมหาวิทยาลัยเอกชนแห่งหนึ่ง (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ.

บุญธรรม กิจปรีดาบริสุทธิ์. (2540). ระเบียบวิธีการวิจัยทางสังคมศาสตร์ (พิมพ์ครั้งที่ 7). (ม.ป.ท.).

บุญเรียง ขจรศิลป์. (2543). วิธีวิจัยทางการศึกษา (พิมพ์ครั้งที่ 5). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์พี.เอ็น.การพิมพ์

ปาริชาติ ปานสำเนียง. (2555). การศึกษาคุณภาพชีวิตในการทำงานและการรับรู้ความยุติธรรมในองค์กรที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีต่อองค์กรผ่านความผูกพันต่อองค์กรของพนักงานมหาวิทยาลัยสายสนับสนุน กรณีศึกษาคณะแพทย์แห่งหนึ่งในกรุงเทพมหานคร (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยศิลปากร, นครปฐม.

ไพฑูรย์ วชิรวงศ์ภิญโญ และนลิน เพียรทอง. (2559). รูปแบบสมรรถนะวิศวกรฝ่ายผลิตในอุตสาหกรรมยานยนต์และชิ้นส่วน กรณีศึกษานิคมอุตสาหกรรมอมตะซิตี้ระยอง. วารสารวิชาการและวิจัย มทร.พระนคร, 10(1), 114-126.

ล้วน สายยศ และอังคณา สายยศ. (2539). เทคนิคการวัดผลการเรียนรู้. กรุงเทพฯ: สุวีริยาสาส์น.

วินิจ เทือกทอง. (2555). การวัดความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา. วารสารครุปริทัศน์ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา, 7(1), 16-20.

ศราวุธ ยังเจริญยืนยง เสรี ชัดแช้ม และกนก พานทอง. (2559). การประยุกต์กระบวนการลำดับชั้นเชิงวิเคราะห์ในเกณฑ์การประเมินการปฏิบัติงานของบุคลากรปฏิบัติการด้านอุตสาหกรรมการผลิตชิ้นส่วนยานยนต์. วารสารไอซีทีศิลปากร, 3(1), 11-33.

ศราวุธ ยังเจริญยืนยง เสรี ชัดแช้ม และกนก พานทอง. (2559). การพัฒนาเกณฑ์การประเมินการปฏิบัติงานของบุคลากรปฏิบัติการด้านอุตสาหกรรมการผลิตชิ้นส่วนยานยนต์. วิทยาการวิจัยและวิทยาการปัญญา, 14(2), 43-58.

สถาบันยานยนต์ กระทรวงอุตสาหกรรม. 2555. แผนแม่บทอุตสาหกรรมยานยนต์. สืบค้นจาก https://goo.gl/PQfJBL.

สุรพงษ์ โสธนะเสถียร. (2549). หลักและทฤษฎีการวิจัยทางสังคมศาสตร์ (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ประสิทธิภัณฑ์แอนด์พรินติ้ง.

อิสรภาพ สาลี. (2556). รูปแบบความสัมพันธ์เชิงโครงสร้างระหว่างพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์การกับการแลกเปลี่ยนความรู้ของพนักงานซ่อมบำรุงอากาศยานบริษัทมหาชน(วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, กรุงเทพฯ.

Allen, M. J. & Yen, W. M. (1979). Introduction to measurement theory. Monterey, CA: Brooks/Cole Publishing Company.

Anastasi, A. (1982). Psychological testing. New York, NY: Macmillan.

Best, J. W. (1970). Research in education. Englewood Cliffs, NJ: Prentice – Hall.

Bollen, K. A. (1989). Structural equations with latent variables. New York: John Wiley & Sons.

Drost, E. (2011). Validity and reliability in social science research. Education Research and Perspectives. 38(1), 105–123.

George, J. M., & Jones, G. R. (2002). Organizational Behavior 3rd ed. New Jersey:Prentice – Hall.

Greenberg, J., & Baron, R. A. (1997) Behavior in Organizational 6th ed. New Jersey: Prentice – Hall.

Hair, J. A., Tatham, R., & Black, W. (1995). Multivariate data analysis with readings. Englewood Cliffs, NJ: Prentice-Hall International.

Hair, Jr., J. E., Black, W. C., Babin, B. J., Anderson, R. E. (2006). Interpreting the factors: Multivariate data analysis. Edinburg Gate: Pearson Education.

Hu & Bentler. (1999). Cutoff criteria for fit indices in covariance structure analysis: Conventional criteria versus new alternatives. Structural Equation Modeling a Multidisciplinary Journal. 6(1), 1-55.

Katz, D., & Kahn, R.L. (1978). The Social Psychology of Organization (2nd ed). New York: John Wiley & Sons.

Lawshe, C. H. (1975). A Quantitative approach to content Validity. Personnel Psychology, 28(4), 563–575.

Lyman, H. B. (1963). Test scores and what they mean. Englewood cliffs, NJ: Prentice-Hall.

Organ, D. W. (1988). Organizational citizenship behavior: The goods soldier syndrome. Lexington, MA: Lexington Books.

Organ, D. W., Podsakoff P. M., MacKenzie S. B. (2006). Issue in the Measurement: Organizational citizenship behavior. Thousand Oaks, CA: Sage.

Organ, D. W., Podsakoff, P. M., MacKenzie S. B. (2006). Its nature, antecedents, and consequences: Organizational Citizenship behavior. Thousand Oaks, CA: Sage.

Popham, W. J. (1990). Modern educational measurement: A practitioner’s perspective. Englewood Cliffs, NJ: Prentice-Hall.

Punch, K. F. (1998). Introduction to social research. London: Sage.

Spector, E. P. (1996). Industrial and organizational Psychology: Research and practice. New York: John Wiley & Sons.

Trochim, W. M. K. (2006). Research methods knowledge Base. Retrieved August 21, 2013, from http://www.socialresearchmethods.net/kb/index.php.

Waltz, C. F., & Bausell, R. B. (1981). Nursing research: Design, statistics, and computer analysis. Philadelphia: F. A. Davis.

Yaghmaie, F. (2003). Content validity and its estimation. Journal of Medical Education. 3(1), 25–27.

Zamanzadeh, V., Rassouli, M., Abbaszadeh, A., Alavi-Majd, H., Nikanfar, A. R., & Ghahramanian, A. (2014). Details of content validity and objectifying it in instrument development. Nurs Pract Today. 1(3), 163-171.

Translated Thai References

Jongrak, T. (2013). Itthiphon khong khunnalaksana ngan thi mi phon to khwam phukphan to ongkon [Influence of Job Characteristics to Organizational Commitment Job Satisfaction, and Organizational Behavior Citizanship] (Master’s thesis), Rajamangala University of Technology Thanyaburi, Pathum Thani.

Kajhonsil, B. (2000). Withi wichai thangkan sueksa [Educational Research]. Bangkok: P.N. Printing.
Kitpredaborisut, B. (1997). Rabiap withikan wichai thang sangkhomsat [Research Methodology in Socail Sciences]. (n.p.).

Klum utsahakam yan yon. Yutthasat yan yon thai su khwam yangyuen [Thai Automotive Strategy to sustainability]. Retrieved from https://goo.gl/9T14Pk.

Pansumnieng, P. (2012). Kansueksa khunnaphap chiwit nai kan thamngan lae kan rapru khwam [A Study of Quality of Work Life and Perception of Organizational Justice Affecting Organizational Citizenship Behavior Through Employees’ Engegement of Support Staff: A Case Study of Faculty of Medicine One of Bangkok] (Master of Art’ thesis). Silpakorn University, Nakhon Pathom.

Piyaphimonsit, C. & Wansaiphatthana, U. (2013). Khwam thiangtrong lae khwam chueaman [Validity and Reliability]. Retrieved from http://www.watpon.com/ Elearning/validity.pdf.

Saiprom, N. (2005). Khwam samphan rawang kan rapru khwamyutitham nai ongkan khwam phukphan to ongkan kap pharuetikam kan pen samachik thi di nai ongkan khong phanakngan nai mahawitthayalai ekkachon haeng nueng [Relationship Between Perception of Justice in Organization, Employee Engagement and Organizational citizenship behavior in A University] (Master of Science Program in Industrial and Organizational Psychology). Kasetsart University, Bangkok.

Saiyos, L. & Saiyos, U. (1996). Theknik kan watphon kan rianru [Learning Measurement and Evaluation]. Bangkok: Suveriya Printing.

Salee, I. (2013). Rupbaep khwam samphan choeng khrongsang rawang pharuetikam kan pen samachik thi di khong ongkan kap kan laekplian khwamru khong phanakngan som bamrung akatsayan borisat mahachon [Structer Equation Modeling of Organizational Citizenship Behavior and Knowledge Sharing: A Case Study of Aircraft Technicians in a Public Company] (Master of Science’s thesis). National Institute of Development Administration, Bangkok.

Sathaban yan yon krasuang utsahakam. (2012). Phaen maebot utsahakam yan yon [Master Plan for Automotive Industry]. Retrieved form https://goo.gl/PQfJBL.

Sothanasatain, S. (2006). Lak lae thruesadi kan wichai thang sangkhomsat [Principles and Theories of Social Research]. Bangkok: Pimprasittiphan Printing.

Thuagthong, V. (2012). Kan wat khwam thiangtrong choeng nueaha [Content Validity]. Kru Pritas Journal, Suan Sunandha Rajabhat University, 7(1), 16-20.

Unaromlert, T. Withi wichai thang pharuetikam sat lae sangkhomsat [Research Methodology in Behavioral Sciences and Socail Sciences] [Lecture notes]. Master of Education Program in Educational Administration, Silpakorn University, Nakhon Pathom.

Viruchai, N. (1999). Moden lisrel: sathiti wikhro samrap kan wichai [LISREL Model: Statistic for Research] (3rd ed.). Bangkok: Julalongkorn Printing.

Wachirawongpinyo, P. & Peanthong, N. (2016). Rupbaep samatthana witsawakon fai phalit nai ut [The Competency Model of Production Engineer in The Automotive Industry: The Data is Collected from Amata City Rayong]. RMUTP Research Journal, 1(1), 114-126.

Yungjareonyenyong, S., Shadcham, S., & Panthong, K. (2016). Kan phatthana ken kan pramoen kan patibatngan khong bukhlakon patibatkan dan utsahakam kan phalit chinsuan yan yon [Development of Criteria for Performance Evaluation of Operations Personnel in Automotive Parts Industry]. Research Methodology and Cognitive Science, 14(2), 43-48.

Yungjareonyenyong, S., Shadcham, S., & Panthong, K. (2016). Kan prayuk krabuankan lamdap chanchoeng wikhro nai ken kan pramoen kan patibatngan khong bukhlakon patibatkan dan utsahakam kan phalit chinsuan yan yon [Process Application Process Diagnostic Tactics in Operational Evaluation Criteria of Industrial Operators in Automotive Parts Manufacturing]. ICT Silpakorn Journal, 3(1), 11-33.