สื่อสังคมออนไลน์กับการประท้วงรูปแบบใหม่ : กรณีขบวนการเคลื่อนไหวทางการเมืองไทย 2563

Main Article Content

ธนากรณ์ อินทร

บทคัดย่อ

บทความนี้นำเสนอถึงความเปลี่ยนแปลงของขบวนการประท้วงทางการเมืองของไทยในช่วงปี 2563 โดยเฉพาะการใช้สื่อสังคมออนไลน์มาใช้ในขบวนการประท้วง ซึ่งพบว่าสื่อสังคมออนไลน์เป็นรูปแบบการสื่อสารที่พัฒนาจากระบบอินเทอร์เน็ต และเป็นทางเลือกในการสร้างความเปลี่ยนแปลงในขบวนการประท้วงทางการเมืองในไทยในช่วงเวลาดังกล่าวนั้นด้วย อาทิ การแสดงความคิดเห็น การสื่อสารอย่างมีปฏิสัมพันธ์  การระดมผู้คนและ  ทำกิจกรรมคู่ขนานกับการดำเนินกิจกรรมในพื้นที่ของขบวนการประท้วงตามปกติทั่วไป กลายเป็นพื้นที่ใหม่ของขบวนการประท้วงทางการเมืองสำหรับผู้คนในโลกออนไลน์ อย่างไรก็ตามการนำสื่อสังคมออนไลน์ยังเผชิญกับปัญหาที่อาจไม่ประสบความสำเร็จเมื่อนำมาใช้ในรูปแบบของขบวนการประท้วงทางการเมือง เช่น มองว่าเป็นเครื่องมือโดยปัจเจกบุคคลที่แบ่งแยกจากสังคม การใช้ถ้อยภาษาซึ่งสามารถเปลี่ยนแปลงสังคมการเมืองได้ และการดำเนินยุทธศาสตร์การเคลื่อนไหวที่ผิดพลาด เป็นต้น

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

นันทนา นันทวโรภาส. (2558). สื่อสารการเมือง: ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้ .พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: สถาพรบุ๊คส์.

บีบีซีไทย. (2563). แฟลชม็อบนักศึกษา ถึง ชุมนุมใหญ่ของ "คณะราษฎร 2563" ลำดับเหตุการณ์ชุมนุมทางการเมืองปี 2563. ค้นเมื่อ 10 กรกฎาคม 2564 จาก https://www.bbc.com/thai/thailand-54741254.

บีบีซีไทย. (2563). เยาวชนปลดแอก: ใครเป็นใครในแกนนำ-ผู้ชุมนุมที่ถูกดำเนินคดี. ค้นเมื่อ 18 กรกฎาคม 2564 จาก https://www.bbc.com/thai/thailand-53846800

บีบีซีไทย. (2563). เยาวชนปลดแอก: กลุ่ม FreeYOUTH ลั่น "มันจะไม่จบแค่นี้" แกนนำพร้อมถูกดำเนินคดีหากมีหมายเรียก. ค้นเมื่อ 19 กรกฎาคม 2564 จาก https://www.bbc.com/thai/thailand-53846800

บีบีซีไทย. (2563). ประท้วงฮ่องกง : เทเลแกรม แอปพลิเคชันขับเคลื่อน "การประท้วงไร้ผู้นำ" ของชาวฮ่องกงได้อย่างไร. ค้นเมื่อ 25 กรกฎาคม 2564 จาก https://www.bbc.com/thai/international-48822097

ไทยพีบีเอส. (2563). รู้จัก Telegram ช่องทางนัดชุมนุมยุคใหม่. ค้นเมื่อ 25 กรกฎาคม 2564 จาก https://news.thaipbs.or.th/content/297497

ไทยรัฐออนไลน์. (18 ตุลาคม 2563). "เทเลแกรม" อีกช่องทางสื่อสาร ม็อบดาวกระจายคณะราษฎร รูปแบบ "ฮ่องกงโมเดล". ค้นจาก https://www.thairath.co.th/news/politic/1955760

ธนศักดิ์ สายจำปา. (2559). “การเคลื่อนไหวทางสังคมออนไลน์: ประเด็นท้าทายทฤษฎีการเคลื่อนไหวทางสังคม.” วารสารรัฐศาสตร์ มสธ. 1,1: 77-96.

พิจิตรา สึคาโมโต้. (2564). สื่อไทยในวิกฤต การเมืองเปลี่ยนผ่าน เทคโนโลยีปั่นป่วน. โครงการตำราคณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ประชาชาติธุรกิจ. (23 กันยายน 2563). “ดีอีเอส” เตรียมแจ้งความ 10 ราย ผิด พ.ร.บ. คอมพิวเตอร์ ระหว่างชุมนุม. ค้นจาก https://www.prachachat.net/politics/news-526422

มติชนออนไลน์. (21 กุมภาพันธ์ 2563). โลกออนไลน์ทวิต #Saveอนาคตใหม่ ขึ้นอันดับหนึ่ง หลังศาลวินิจฉัยยุบพรรค ตัดสิทธิ 10 ปี. ค้นจาก https://www.matichon.co.th/politics/news_1993057

เดอะแมทเทอร์. (2019). โซเชียลมีเดียสร้างการเคลื่อนไหวทางสังคมได้ แต่ก็ทำให้ล้มเหลวได้เช่นกัน?. ค้นเมื่อ 28 กันยายน 2564 จาก https://thematter.co/thinkers/success-and-failure-of-social-media/88989

เดอะวันโอวันดอทเวิร์ล. (2020). #WhatsHappeninginThailand: เมื่อการเมืองออนไลน์ลงสู่ท้องถนน. ค้นเมื่อ 11 กรกฎาคม 2564 จาก https://www.the101.world/surachanee-sriyai-interview/

ไอลอว์. (2020). บันทึกข้อมูลการชุมนุมของนักเรียน นิสิต นักศึกษาและประชาชน ตั้งแต่วันที่ 22 กุมภาพันธ์ 2563. ค้นเมื่อ 15 กรกฎาคม 2564 จาก https://freedom.ilaw.or.th/en/node/825

เวิร์คพ้อยท์ทูเดย์. (2020). ม็อบดิจิตัล: ความป๊อปในโลกออนไลน์ ที่ผลักดันให้การชุมนุมเข้าถึงคนมากขึ้น. ค้นเมื่อ 11 กรกฎาคม 2564 จาก https://workpointtoday.com/thailand-protest-2020-digital-movement/

ว้อยซทีวี. (2020). #แท็กเพื่อนไปม็อบ ทะยานอันดับ 1 เทรนด์ทวิตเตอร์ไทย. ค้นเมื่อ 1 ตุลาคม 2564 จาก https://www.voicetv.co.th/read/XFF5rnaCn

Castells, M. (2015). Networks of Outrage and Hope: Social Movements in the Internet Age. Second Edition. Cambridge: Polity Press.

Earl, J. (2016). Protest Online. In Bosi, L., G and Uba K (Eds). The Consequences of Social Movements. Cambridge:Cambridge University Press.

Gamson, W. A., and Wolfsfeld, G. (1993). “Movements and Media as Interacting Systems.”Annals of the American Academy of Political and Social Science 528: 114-125.

Gurak, L. J. and Logie, J. (2003). Internet Protests, from Text to Web. In Caughey, M. M. and Ayers, M. D. (Eds.) Cyberactivism: online activism in theory and practice. New York: Routledge.

Hara, N., and Huang B. Y. (2011). “Online Social Movements.” Annual Review of Information Science and Technology 45,1: 489-522.

Jacobin Magazine. (2020). The Problem With Hashtag Activism. Retrieved on 2 September 2021 From https://jacobinmag.com/ 2020/12/ hashtag-activism-review-twitter-social-justice.

Laer, J. V., and Aelst, P. V. (2010). “Internet and Social Movement Action Repertoires:Opportunities and Limitations.”Information, Communication & Society 8: 1146-1171.

Madison, N. and Klang, M. (2020). “The Case for Digital Activism: Refuting The Fallacies of Slacktivism.” Journal of Digital Social Research 2,2: 29-47.

Poell, T. and Dijck J. V. (2018). Social Media and New Protest Movements. In Burgess, J., Marwick, A. and Poell T. (Eds.) The SAGE Handbook of Social Media. London: SAGE Publications.

Sinpeng, Aim. (2021). “Hashtag activism: social media and the #FreeYouth protests in Thailand.” Critical Asian Studies 53,1: 1-14.

Sriyai, S. (2018). Weaving the Web: Internet, Mobilization, and Contentious Political Movements.(Doctoral Dissertation). Texas: Texas Tech University.

The Conversation. (2018). #Revolution: how the humble hashtag changed world politics. Retrieved on 2 September 2021 From https://theconversation.com/revolution-how-the-humble-hashtag-changed-world-politics-105483.

Tufekci, Z. (2014). “Social Movements and Governments in the Digital Age.” Journal of International Affairs 68,1: 1-18.

Turner, E. (2013). “New Movements, Digital Revolution, and Social Movement Theory.” Peace Review: A Journal of Social Justice 25,3: 376-383.