จาก “คณะราษฎร 2475” ถึง “คณะราษฎร 2563”: ร่องรอยของแนวความคิด #ให้มันจบที่รุ่นเรา
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความมีจุดมุ่งหมายที่จะศึกษาประเด็นจากปรากฏการณ์ในการเคลื่อนไหวทางการเมืองของกลุ่มที่เรียกตัวเองว่า “คณะราษฎร 2563” โดยสาระสำคัญของการศึกษาครั้งนี้ผู้เขียนให้ความสนใจในวลี “#ให้มันจบที่รุ่นเรา” ทั้งนี้เพื่อทำความเข้าใจและหาความหมายของวลีดังกล่าวผู้เขียนใช้วิธีการศึกษาในแบบประวัติศาสตร์ความคิดทางการเมือง ซึ่งผลจากการศึกษาพบว่า ความหมายแฝงที่อยู่ในวลี #ให้มันจบที่รุ่นเรา น่าจะหมายถึงการเรียกร้องให้มีการเปลี่ยนแปลงการปกครองไปสู่ระบอบการปกครองแบบ “สาธารณรัฐ” และนอกจากนี้ยังพบว่าแนวความคิดดังกล่าวไม่ได้เกิดขึ้นเป็นครั้งแรกในสังคมไทย กล่าวคือผู้เขียนพบว่าที่ผ่านมาได้ปรากฏร่องรอยของแนวความคิดในลักษณะอย่างนี้มาแล้วอย่างน้อยสองเหตุการณ์ ซึ่งเมื่อพิจารณาจากตัวบทและบริบทของการชุมนุมเคลื่อนไหวทางการเมืองของกลุ่มคณะราษฎร 2563 ทำให้เห็นว่าร่องรอยของแนวความคิดดังกล่าวที่เคยเกิดขึ้นมาแล้วในอดีตทั้งสองเหตุการณ์นั้นมีความเชื่อมโยงกันกับการเคลื่อนไหวของกลุ่มคณะราษฎร 2563 อย่างมีนัยสำคัญ
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
All contents and information in the manuscripts published by Journal of Political Science Critique are the authors’ opinions; thus, the authors take sole responsibility for any contents. The editorial board does not agree with or accept responsibility for the manuscripts.
All published articles, information, contents, pictures, or other things in Journal of Political Science Critique are Copyright by the Journal. All Rights Reserved. All contents may not be copied or duplicated in whole or part by any means without the prior written permission of Journal of Political Science Critique.
References
กรมตำรา. (2463). ปทานุกรมสำหรับโรงเรียน. พระนคร: กระทรวงศึกษาธิการ.
กันย์ ชโลธรรังษี. (2557). การเผยแพร่แนวคิดประชาธิปไตยในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. 100 ปี ร.ศ.130 ถึง 80 ปี ประชาธิปไตย. กรุงเทพมหานคร: บริษัท พี.เพรส. จำกัด.
ชาตรี ประกิตนนทการ. (2552). ศิลปะ-สถาปัตยกรรมคณะราษฎร : สัญลักษณ์ทางการเมืองในเชิงอุดมการณ์. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์มติชน.
ไชยันต์ ไชยพร. (ม.ป.ป.). เอกสารอ่านประกอบการเรียนการสอน เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการศึกษาในแนวประวัติศาสตร์ความคิดทางการเมือง ปรัชญา การเมือง และทฤษฎีการเมือง. กรุงเทพมหานคร: คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ณัฐพล ใจจริง. (2556). ขอฝันใฝ่ในฝันอันเหลือเชื่อ: ความเคลื่อนไหวของขบวนการปฏิปักษ์ปฏิวัติสยาม (พ.ศ.2475- 2500). นนทบุรี: สำนักพิมพ์ฟ้าเดียวกัน.
เดอะหนึ่งศูนย์หนึ่ง. (2563). #ให้มันจบที่รุ่นเรา” – จุฑาทิพย์ ศิริขันธ์. ค้นเมื่อ 20 มกราคม 2565 จาก https://www.the101.world/jutatip-sirikhan-interview/
นครินทร์ เมฆไตรรัตน์. (2537). การศึกษาประวัติศาสตร์ความคิดไทย. ในสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.). การสัมมนาการวิจัย “นักคิดไทย”. ม.ป.ท.: ผู้แต่ง.
บัณฑิต จันทร์โรจนกิจ. (2549). รัฐธรรมนูญสถาปนา : ชีวิตและชะตากรรมของประชาธิปไตยในวัฒนธรรมไทย. กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์วิภาษา.
บีบีซีนิวส์ไทย. (2563). 14 ตุลา : ประจักษ์ ก้องกีรติ มองการเกิดใหม่ของ “คณะราษฎร” กับภารกิจคืนศักดิ์ศรีให้เสื้อแดง คืนความจริงให้ 6 ตุลา. ค้นเมื่อ 20 มกราคม 2565 จาก https://www.bbc.com/thai/thailand-54491617
บีบีซีนิวส์ไทย. (2563). คณะราษฎร: ประกาศ 3 ข้อเรียกร้องก่อนชุมนุมใหญ่ 14 ตุลา ประยุทธ์ลาออก-เปิดสภาแก้ รธน.-ปฏิรูปสถาบันกษัตริย์, ค้นเมื่อ 20 มกราคม 2565 จากhttps://www.bbc.com/thai/thailand-54461248
บีบีซีนิวส์ไทย. (2563). โฆษก ทบ. ขออย่าเชื่อมโยงความเห็นของ “ผู้พันเจี๊ยบ” กับกองทัพบก หลังเปรียบเปรย “เยาวชนปลดแอก” เป็น “ม็อบมุ้งมิ้ง”. ค้นเมื่อ 20 มกราคม 2565 จาก https://www.bbc.com/thai/thailand-53469936
บีบีซีนิวส์ไทย. (2563). เยาวชนปลดแอก: ใครเป็นใครในแกนนำ-ผู้ชุมนุมที่ถูกดำเนินคดี. ค้นเมื่อ https://www.bbc.com/thai/thailand-53846800
บีบีซีนิวส์ไทย. “ธรรมศาสตร์จะไม่ทน” ยื่นข้อเรียกร้อง 10 ข้อแก้ปัญหาว่าด้วยสถาบันกษัตริย์ นัดชุมนุมอีกครั้ง 12 ส.ค. ค้นเมื่อ 20 มกราคม 2565 จาก https://www.bbc.com/thai/thailand-53727597
ประชาไท. (2563). ชุมนุมธีมแฮรี่พอตเตอร์ ร้องยกเลิก-แก้กฎหมายขยายพระราชอำนาจฯ และฟังเสียงนักศึกษา-ประชาชน. ค้นเมื่อ 20 มกราคม 2565 จากhttps://prachatai.com/journal/2020/08/88882
ปั้น บุณยเกียรติ และเฮง เล้ากระจ่าง. (2475). สยามรัฐเปลี่ยนแปลงการปกครองแผ่นดินอย่างมีพระราชาธิบดีอยู่ใต้พระธรรมนูญการปกครอง. พระนคร: โรงพิมพ์เดลิเมล์.
พริษฐ์ ชิวารักษ์. (2563). ปรากฏการณ์สะท้านฟ้า 10สิงหา ข้อเรียกร้องว่าด้วยสถาบันกษัตริย์. ม.ป.ท.: กลุ่มแนวร่วมธรรมศาสตร์และการชุมนุม.
เพิ่มศักดิ์ จะเรียมพันธ์. (2561). ความคิดเกี่ยวกับประชาธิปไตยในประเทศไทยจนถึง พ.ศ. 2475: การก่อรูป, การประชันความหมาย และการผสมผสาน. (วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, คณะรัฐศาสตร์.
เฟซบุ๊ก ครูใหญ่ อรรถพล บัวพัฒน์ - Attapon Buapat. ค้นเมื่อ 20 มกราคม 2565 จาก https://facebook.com/ครูใหญ่-อรรถพล-บัวพัฒน์-Attapon-Buapat-423082394846295
ภาณุพงศ์ จาดนอก. (2563). ปรากฏการณ์สะท้านฟ้า 10สิงหา ข้อเรียกร้องว่าด้วยสถาบันกษัตริย์. ม.ป.ท.: กลุ่มแนวร่วมธรรมศาสตร์และการชุมนุม.
ศรัญญู เทพสงเคราะห์. (2562). ราษฎรธิปไตย : การเมือง อำนาจ และทรงจำของ(คณะ)ราษฎร. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์มติชน.
ศราวุฒิ วิสาพรม. (2559). ราษฎรสามัญ หลังวันปฏิวัติ 2475. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์มติชน.
สมชาย ปรีชาศิลปกุล. (2563). คณะราษฎร 2563. the 101.world. ค้นเมื่อ 20 มกราคม 2565 จาก https://www.the101.world/khana-ratsadon-2563/
เหรียญ ศรีจันทร์, ร.ต, 2435-2513 และ เนตร พูนวิวัฒน์, ร.ต. (2503). ประวัติปฏิวัติครั้งแรกของไทย ร.ศ. 130 (พ.ศ. 2454). ม.ป.ท.: บริษัท กิมกลีหงวน จำกัด.
อัจฉราพร กมุทพิสมัย. (2540). กบฎ ร.ศ. 130 กบฎเพื่อประชาธิปไตยแนวคิดทหารใหม่. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์อมรินทร์วิชาการ.
Alamy. Stock Photos. (2563). Republic of Thailand. ค้นเมื่อ 20 มกราคม 2565 จากhttps://www.alamy.com/stock-photo/republic-of-thailand.html
Forevier. (2563). ทำไมต้อง #ให้มันจบที่รุ่นเรา.ค้นเมื่อ 20 มกราคม 2565 จาก https://www.forevier.com/ทำไมต้อง-ให้มันจบที่รุ่/
Getdaytrends. Trends. (2563) #RepublicofThailand in Thailand. ค้นเมื่อ 20 มกราคม 2565 จาก https://getdaytrends.com/thailand/trend/%23RepublicofThailand/