การออกแบบไม้ค้ำยันเป็นรากเทียมที่เหมาะสมต่อการปลูกป่าชายเลน
DOI:
https://doi.org/10.14456/bei.2021.18คำสำคัญ:
ไม้ค้ำยัน, รากเทียม, ป่าชายเลนบทคัดย่อ
การปลูกป่าชายเลนเป็นการสร้างผืนป่าบนพื้นที่ป่าชายเลนขึ้นเพื่อเป็นแหล่งที่อยู่อาศัยของสัตว์น้ำแต่เมื่อมีการนำพืชปลูกลงบนเป็นดินโคลนซึ่งดินมีความนิ่มเหลวซึ่งต้นไม้ที่นำไปปลูกมีความเสี่ยงที่อาจจมหายไปกับน้ำที่ซัดเซาะ เมื่อพิจารณาการเพิ่มขึ้นของป่าชายเลนจะเห็นว่าเป็นไปอย่างช้ามากเมื่อเทียบกับการปลูกป่าในพื้นดินปกติ โดยมีข้อสังเกตที่ชัดเจนว่าการอยู่รอดของต้นไม้ที่นำไปปลูกลงบนป่าชายเลนดังกล่าวแทบมีให้เห็นได้น้อย ดังนั้นจึงพบการรณรงค์ จิตอาสา ไปปลูกป่าชายเลนอยู่บ่อยครั้งและเป็นการปลูกป่าชายเลนในพื้นที่เดิมๆ ซึ่งสะท้อนให้เห็นถึงการอยู่รอดของต้นไม้ที่ปลูกก่อนหน้านี้ ทำให้เกิดการสูญเสียเปลืองเปล่าทั้งแรงงานและกำลังทรัพย์ในการรณรงค์การปลูกป่าชายเลนซึ่งเดิมการปลูกป่าชายเลนจะมีไม้ค้ำพยุงต้นอ่อนแค่ไม้ไผ่อันเดียวซึ่งเมื่อมีคลื่นทะเลซัดเซาะ ไม้ค้ำยันแบบไม้ไผ่ซีกเดียวดังกล่าวก็ไม่สามารถจะดึงรั้งพยุงต้นอ่อนของต้นไม้ที่เพิ่งปลูกลงบนป่าชายเลน ผู้วิจัยเห็นว่าหากมีการออกแบบไม้ค้ำยัน(Staking)ให้มีโครงสร้างที่คล้ายรากพืชที่มีหลายรากเพื่อยึดโยงลงในพื้นโคลนอาจทำให้เพิ่มการอยู่รอดของต้นอ่อนที่นำไปปลูกหรือต้นอ่อนที่ขึ้นอยู่ตามธรรมชาติได้ ดังนั้นงานวิจัยชิ้นนี้จึงนำเสนอการสร้างรูปแบบไม้ค้ำยัน(รากเทียม)ให้เหมาะสมกับการใช้งาน
References
[Online].http://www.omarshamsi.com/2017/04/11/red-mangroves-the-strangest-roots-fruits/. (12March 2020).
Anan Ditkaew(2020). The structural strength of plastic rods consistent with the test results,
Thailand Institute of Scientific and Technological Research: Bangkok. . [in Thai]
Department of Marine and Coastal Resources.2020. Mangrove forest Central database
System and marine and coastal resource data standards.[Online].https://km.dmcr.go.th/th/c_11.(1March 2020).[in Thai]
Kamonphol Khayanha. 2561.Laboratory Experiments On The Effects of Hydrodynamic Factors On The Physical Characteristics of Planted Mangrove Sprouts. Master Thesis. Burapha University.301 p. [in Thai]
Makoto Kimura and Hidenori Wada. 2012. Tannins in mangrove tree roots and their role in the root environment. [Online].https://www.tandfonline.com/doi/abs/10.1080/00380768.198
9.10434741/. (12 March 2020).
Nagamit suMaie. 2008. Mangrove tannins in aquatic ecosystems: Their fate and possible influence on dissolved organic carbon and nitrogen cycling.[Online]. https://aslopubs.onlinelibrary.wiley.com/doi/abs/10.4319/lo.2008.53.1.0160. (12 March 2020).
Sakanan Plathong (2020). Marine Science Learning Center Department of Biology Faculty of Science ,Prince of Songkla University : Songkhla. [in Thai]
Sanit Aksornkaew, SonjaiHavanont and ChatreeMaknuan.(1996). Handbook of Mangrove Planting.Bangkok :Funnypubpublishing limited partnership. [in Thai]
Sarayut Bunyawetchchewin, ThanitNooyim, and Shouzo Nakamura. (1997). Survival rate and growth of young mangrove And large mangrove at different light intensity. At the 35th Academic Conference of Kasetsart University (pages 573-585). Kasetsart University. [in Thai]
Silawut Damrongsiri and PenradieChanpiwat (2564).Microplastics in freshwater and
consumer water sources, Environmental Research Institute. ChulalongkornUniversity,Bangkok. [Online].http://www.ej.eric.chula.ac.th/content/6114/82
Sitthichok Chanyong. 2009. Mangrove and mangrove forests.Sikao Bay Coast Trang Province.[Online].https://fishtech.rmutsv.ac.th/fishtech/sites/default/files/files/2556/Electronics/Mangrove%20forest.pdf. (16 March 2020). [in Thai]
Suleeporn Saengkrachang, PattamaPloysawang, ParindaPhromhitathon (2013). Impact
of plastics on health and environment, Molecular Epidemiology. research group National Cancer Institute, Bangkok. Journal of Thai Toxicology 2013 ;28(1) [Online].http://file:///C:/Users/Administrator/Downloads/244081-Article%20Text-838216-1-10-20200605%20 (1).pdf
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
ทัศนะและข้อคิดเห็นของบทความที่ปรากฏในวารสารฉบับนี้เป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน ไม่ถือว่าเป็นทัศนะและความรับผิดชอบของกองบรรณาธิการ