แนวคิดของกอตต์ฟรีด เซมเปอร์ เกี่ยวกับสิ่งทอและส่วนปิดล้อมในสถาปัตยกรรม

ผู้แต่ง

  • ณัฏฐ์ ละเอียดอ่อน คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร
  • ต้นข้าว ปาณินท์ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

DOI:

https://doi.org/10.14456/bei.2022.19

คำสำคัญ:

กอตต์ฟรีด เซมเปอร์, ส่วนปิดล้อมทางสถาปัตยกรรม, ทฤษฎีทางสถาปัตยกรรม, สถาปัตยกรรมร่วมสมัย, ความหมายในทางสถาปัตยกรรม

บทคัดย่อ

ส่วนปิดล้อมในสถาปัตยกรรม (Architectural Enclosure) โดยพื้นฐานแล้ว ถูกเข้าใจว่ามีหน้าที่เพียงเพื่อแบ่งแยกพื้นที่และทำให้ผู้ใช้ในสถาปัตยกรรมเข้าใจขอบเขตของที่ว่าง แต่ส่วนปิดล้อมในสถาปัตยกรรมยังมีความหมายอื่นๆ
อีกด้วย ทั้งในด้านของภาษาหรือคำศัพท์ที่ใช้เรียกองค์ประกอบนี้ ด้านเทคนิควิธีการก่อสร้าง รวมทั้งนัยยะที่สื่อสาร
ผ่านพื้นผิวของส่วนปิดล้อม
บทความนี้มุ่งเน้นที่จะทบทวนความหมายเชิงทฤษฎีแรกเริ่ม ทำความเข้าใจ และอภิปรายความหมายอื่นๆ
ที่แฝงอยู่ในแนวคิดของส่วนปิดล้อมทางสถาปัตยกรรม โดยใช้วิธีการศึกษาผ่านการทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง
และงานเขียนของ กอตต์ฟรีด เซมเปอร์ (Gottfried Semper) ซึ่งกล่าวถึงส่วนปิดล้อมในสถาปัตยกรรมว่ามีต้นกำเนิดมา
จากสิ่งทอ (Textile) ซึ่งแนวคิดของเขานั้นได้รับการอ้างอิงโดยนักทฤษฎีทางสถาปัตยกรรมตะวันตกเสมอมา บทความนี้
ทำการศึกษาเปรียบเทียบตัวอย่างอาคารที่ได้รับอิทธิพลจากแนวความคิดเกี่ยวกับส่วนปิดล้อมของเซมเปอร์ เพื่อค้นหา
ความสัมพันธ์ระหว่างทฤษฎีและการออกแบบสถาปัตยกรรม
การศึกษานี้ชี้ให้เห็นว่า งานเขียนของเซมเปอร์อธิบายส่วนปิดล้อมไว้แตกต่างจากทฤษฎีสถาปัตยกรรม
ที่มีมาก่อน ส่วนปิดล้อมเป็นองค์ประกอบแยกออกจากโครงสร้างและมีแนวคิดมาจากสิ่งทอที่ปกคลุมลงบนโครงสร้าง
เมื่อนำแนวคิดนี้มาวิเคราะห์อาคารในยุคสมัยถัดมาพบว่า “แนวคิดสิ่งทอ” มีความสัมพันธ์ในเชิงการก่อสร้าง และการสื่อ
ความหมายเชิงสัญลักษณ์ และด้วยแนวคิดนี้สามารถที่จะเป็นกรอบหรือเครื่องมือที่ใช้ในการวิเคราะห์และอธิบาย
ปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นในสถาปัตยกรรมในช่วงเวลาต่อมา

References

ต้นข้าว ปาณินท์ (2561). ปฐมบท ทฤษฎีสถาปัตยกรรม. พิมพ์ครั้งที่1. กรุงเทพฯ: ลายเส้น.

Davies, C. (2011). Thinking about architecture: An introduction to architectural theory. London: Laurence King.

Gladbach, Ernst: Der Schweizer Holzstyl in seinen cantonalen und constructiven Verschiedenheiten vergleichend dargestellt mit Holzbauten Deutschlands. Zürich : Caesar Schmidt, 1882-1886. ETH-Bibliothek Zürich, Rar 9547 fol. https://www.e-rara.ch/zut/doi/10.3931/e-rara-9036

Herrmann, W. (1989). Gottfried Semper: In search of architecture. Cambridge, Mass: MIT Press.

Kruft, H.-W., Taylor, R., Callander, E., & Wood, A. (1994). A history of architectural theory: From Vitruvius to the present.

Laugier, Marc-Antoine, Wolfgang Herrmann, and Anni Herrmann. 1977. An essay on architecture. Los Angeles: Hennessey & Ingalls.

Moravanszky, Á. (2016). Metamorphism: Material change in architecture. Basel: Birkhäuser.

Panin, T. (1). On The Surface: Purposes of Architectural Enclosure. NAJUA: Architecture, Design and Built Environment, 22, 25. Retrieved from https://so04.tci-thaijo.org/index.php/NAJUA-Arch/article/view/45136

Panin, T. (2009). Architectural Spatiality the dialectic between the concepts of ruam and bekleidung. VDM Verlag Dr. Muller Aktiengesellschaft & Co. KG.

Semper, G. (2004). Style: Style in the technical and tectonic arts ; or, practical aesthetics. (Mallgrave, H. & Robinson, M. Trans). Los Angeles, Calif: Getty Research Inst. (Original work published 1860)

Semper, G. (2010). The four elements of architecture and other writings. (Mallgrave, H. & Herrman, W. Trans). Cambridge: Cambridge University Press. (Original work published 1803-1879)

Zumthor, Peter. (2010). Thinking architecture. (3rd ed.) Basel: Birkhauser.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2022-09-26

How to Cite

ละเอียดอ่อน ณ., & ปาณินท์ ต. (2022). แนวคิดของกอตต์ฟรีด เซมเปอร์ เกี่ยวกับสิ่งทอและส่วนปิดล้อมในสถาปัตยกรรม. สิ่งแวดล้อมสรรค์สร้างวินิจฉัย, 21(3), 1–15. https://doi.org/10.14456/bei.2022.19