พฤติกรรมการใช้พื้นที่สาธารณะของกลุ่มคนรุ่นใหม่ กรณีศึกษา “เมืองขอนแก่น”

ผู้แต่ง

  • นันทนัช แจ่มสุวรรณ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
  • มนสิชา เพชรานนท์ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

DOI:

https://doi.org/10.14456/bei.2023.5

คำสำคัญ:

พื้นที่สาธารณะ, พฤติกรรม, กลุ่มคนรุ่นใหม่

บทคัดย่อ

บทความนี้เป้าหมายหลักคือ การสำรวจพฤติกรรม ความต้องการใช้พื้นที่สาธารณะ และความรู้สึกด้านจิตใจ อารมณ์ของกลุ่มคนรุ่นใหม่ที่มีต่อพื้นที่สาธารณะ  ซึ่งมีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอผลการศึกษาคุณลักษณะพื้นที่สาธารณะที่ตอบสนองวิถีชีวิตของกลุ่มคนรุ่นใหม่ “เมืองขอนแก่น” โดยใช้วิธีการเก็บแบบสอบถามออนไลน์ จากกลุ่มตัวอย่างช่วงอายุ 13 – 35 ปี จำนวน 431 คน ผลการศึกษา พบว่าพื้นที่สาธารณะที่กลุ่มตัวอย่างคนรุ่นใหม่นิยมเลือกเข้าใช้และเข้าใช้เป็นระยะเวลานาน คือ พื้นที่สาธารณะประเภท Co-working Space รูปแบบร้านกาแฟ และสวนสาธารณะ เนื่องจากพฤติกรรมของกลุ่มคนรุ่นใหม่ที่ชื่นชอบการใช้เทคโนโลยี สิ่งอำนวยความสะดวก รักสุขภาพและความสะอาด และต้องการประกอบกิจกรรมทางการควบคู่กับการพักผ่อน อีกทั้งกิจกรรมที่ทำสามารถสะท้อนถึงความรู้สึก และสร้างความหมายต่อผู้ใช้ ด้วยลักษณะของพื้นที่ สภาพแวดล้อมในพื้นที่

References

กระปุก. (2556). เจเนอเรชั่นทั้ง 8 กลุ่ม. ค้นเมื่อ 14 มกราคม 2564, จาก https://hilight.kapook.com/ view/83492%2018/03/255

กาญจน์ นทีวุฒิกุล. (2550). ตรรกะของการใช้พื้นที่ว่างสาธารณะอย่างอเนกประโยชน์ในเมืองเชียงใหม่. วิทยานิพนธ์ปริญญาการวางแผนภาคและเมืองมหาบัณฑิต คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

คนในแต่ละเจเนอเรชั่น. (2562). Posttoday. ค้นเมื่อ 14 มกราคม 2564, จาก https://www.thairath. co.th/content/475518

เฉลิมพล แจ่มจันทร์. (2559). พฤติกรรมสุขภาพ เศรษฐกิจ และสังคมในแต่ละ Generation. ค้นเมื่อ 6 มกราคม 2564, จาก https://www.bangkokbiznews.com/social/720577

ทีซีดีซี. (2562). เจเนอเรชั่น Z. ค้นเมื่อ 13 กุมภาพันธ์ 2564, จาก http://www.tcdc.or.th/articles/others/ 28334/#TREND2018-Generation--Generation-Z

ธนกร จุดาศรี. (2558). แนวทางการออกแบบพื้นที่สาธารณะที่ตอบรับกับพฤติกรรมของคนรุ่นใหม่. วิทยานิพนธ์ปริญญาสถาปัตยกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการออกแบบชุมชนเมือง บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร.

ปราณฟ้า พรหมประวัติ. (2550). สนามทัศและรูปแบบการใช้พื้นที่ว่างสาธารณะชุมชนเมือง: กรณีศึกษาชุมชนย่านเสาชิงช้า กรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์ปริญญาการวางแผนภาคและเมืองมหาบัณฑิต

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ปวันรัตน์ อิ่มเจริญกุล. (2560). ปัจจุยที่ส่งผลต่อความพึงพอใจในการเข้ารับบริการสถานที่ให้บริการพื้นที่ทำงาน Co-working space ในกรุงเทพมหานคร. การค้นคว้าอิสระปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต

คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

พรรณฑิภา สายวัฒน์. (2552). การปรับปรุงพื้นที่ว่างสาธารณะในย่านพาณิชยกรรมศูนย์กลางเมือง กรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์ปริญญาการวางแผนภาคและเมืองมหาบัณฑิต คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

มนัสวี ศรีนนท์. (2561). พฤติกรรมคนรุ่นใหม่. thairath. ค้นเมื่อ 25 กุมภาพันธ์ 2564, จาก https://www. thairath.co.th/content/475518

ศุภชัย ชัยจันทร์ และ ณรงพน ไล่ประกอบทรัพย์. (2559). แนวคิดสาธารณะของพื้นที่สาธารณะภายในเมือง. วารสารวิชาการ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 15(2), 72-83.

ศุภยาดา ประดิษฐ์ไวทยากร. (2555). พื้นที่สาธารณะ. วิทยานิพนธ์ปริญญาสถาปัตยกรรมศาสตรมหาบัณฑิตสาขาวิชาสถาปัตยกรรม บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร.

เสมอ นิ่มขันเงิน. [ม.ป.ป.]. ทฤษฎีเจเนอเรชั่น. ค้นเมื่อ 25 กุมภาพันธ์ 2564, จาก http://socialintegrated.com/ความแตกต่างของคนหลากgeneration

อภิชญา โออินทร์. (2563). สุมหัวกันในพื้นที่ที่สาม: กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่เมืองตรัง. ค้นเมื่อ 13 กุมภาพันธ์ 2564, จาก https://medium.com/intermingletrang/%E0%B9%82% E0%B8%84%E0%B8%A3%E0%B8%87%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%88%E0%B8%B1%E0%B8%A2-%E0%B8%A

อัครพล ธัญญเกษตร. (2559). การศึกษาพฤติกรรมการใช้พื้นที่สาธารณะและสภาพภูมิทัศน์ กรณีศึกษาพื้นที่สาธารณะริมชายหาดบริเวณถนนพัทยาสาย 1 (ถนนเลียบชายหาดพัทยา). วิทยานิพนธ์ปริญญา

ภูมิสถาปัตยกรรมศาสตรมหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร.

เอ็นไวโร ไทยแลนด์. (2563). 5 เทรนด์ผู้บริโภคปี 2020. ค้นเมื่อ 13 กุมภาพันธ์ 2564, จาก https://mgronline. com/business/detail/9630000008385

เอสซีบี. (2561). ไลฟ์สไตล์คนไทยยุค 4.0. ค้นเมื่อ 13 กุมภาพันธ์ 2564, จาก https://alivearound.com/ lifestyle/ไลฟ์สไตล์คนไทยยุค-4-0/

Aelbrect, P. (2016). Fourth places: the contemporary public settings for informal social interaction among stranfers. Journal of Urban Design, 2016, 124-152.

Carr, S. et al. (1992). Environment and Behavior Public Space. Cambridge: Cambridge University Press.

Carr, S. et al. (1992). Public space and public life. Cambridge: Cambridge University Press.

Habermas, J. (1989). The Structural Transformation of the Public Sphere. Oxford:

Oxford University Press.

Hongsuwan, P. (2020). Basic Behavior of Millennials หรือ Young Gen. Retrieved January 28, 2021, from https://missiontothemoon.co/what-are-the-new-generations-looking-for/?fbclid=IwAR3C30PC54TAwqv0EHJ1Re4mBvKUIgttVvxEVRzUQ1KlGIFtkbdHBxA_EdM

Jacobs, J. (1961). The Death and Life of Great America City. New York: Penguin books.

Kendra, C. (2022). Maslow’s Hierarchy of needs.Verywellmind. Retrieved February 5, 2021, from https://www.verywellmind.com/what-is-maslows-hierarchy-of-needs-4136760

Lee, K. (2020). Project for Public Spaces. Retrieved February 5, 2021, from https://www.pps. org/article/public-space-park-space-and-racialized-space?fbclid=IwAR0D9fahLW6IgiW5h EJbKXFMahotPiaHCNMYghoQ27oavpg57gbkkJcoreQ

Madanipour, A. (1996). Public and Private Spaces of the City. London: Routledge.

Oldenburg, R. (1989). The Great Good Place: Cafes, Coffee Shops, Community Centers, Beauty Parlors, General Stores, Bars, Hangouts at the heart of a community.

Massachusetts: Da Capo Press.

Oldenburg, R. (2000). Celebrating the Third Place: Inspiring Stories about the "Great Good Places" at the Heart of Our Communities. [n.p.]: Marlowe & Company.

Positioning. (2019). Young people and flexible working perspectivws respond to lifestyle. Retrieved January 28, 2021, https://positioningmag.com/1243357

PROJECT FOR PUBLICSPACE. (2019). What makes a successful place?. Retrieved January 28, 2021, from https://www.pps.org/article/grplacefeat

SCHL/CHNG MKRS. (2021). Generation gabs. Retrieved January 28, 2021, from https://www.school ofchangemakers.com/knowledge/28507/?fbclid=IwAR2JFnHAcpP6TermASwlIXpeGU3xWa-aSSTDVEi5OIOz9-GkzSxdIS6LYOU

Ward, B. (2020). 5 lifestyles of the new generation responding to the way of life. Retrieved January 28, 2021, from https://st-remy-authentic.com/5-ไลฟ์สไตล์ของคนยุคใหม่ต/?fbclid=IwAR2ATeqW1 GvkIltjbiuRqOG_-1C0fC00qWuEVdHXQ6RO-Wwh7bC4Ongi4zA

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2023-03-27

How to Cite

แจ่มสุวรรณ น., & เพชรานนท์ ม. (2023). พฤติกรรมการใช้พื้นที่สาธารณะของกลุ่มคนรุ่นใหม่ กรณีศึกษา “เมืองขอนแก่น”. สิ่งแวดล้อมสรรค์สร้างวินิจฉัย, 22(1), 73–92. https://doi.org/10.14456/bei.2023.5