การสถาปนาพระมหาเจดีย์ต้นพุทธศตวรษที่ 26 ในวัดสายหลวงปู่มั่น ภูริทัตตะเถระ - The Establishment of Phra Maha Chedi in the Early 26th Buddhist Era in the Monastery of Luang Pu Man Bhuridatta Thera’s Lineage

ผู้แต่ง

  • ภัทระ ไมตระรัตน์
  • ทรงยศ วีระทวีมาศ

คำสำคัญ:

พระธาตุพระอริยสงฆ์, พื้นที่พิธีกรรม, Buddhist Saint’s Relic, Ritual Space,

บทคัดย่อ

บทคัดย่อ
ปลายพุทธศตวรรษที่ 25 เป็นเวลาที่การก่อสร้างพระมหาเจดีย์ในสังคมไทยหยุดชะงักและถูกทิ้งช่วงไปหลาย
สิบปี การเปลี่ยนแปลงของสังคมร่วมสมัยย่อมส่งผลต่อแนวความคิดในการก่อสร้าง และเมื่อเข้าสู่พุทธศตวรรษที่ 26
การสถาปนาพระมหาเจดีย์จึงปรากฏขึ้นภายใต้บริบทใหม่ของสังคมไทย การศึกษานี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อตรวจสอบ
คติการสถาปนาพระมหาเจดีย์ช่วงต้นพุทธศตวรรษที่ 26 ในวัดสายหลวงปู่มั่น ภูริทัตตะเถระ ด้วยวิธีการศึกษาเปรียบเทียบ
กับจารีตทางพุทธศาสนา โดยท�ำการศึกษาจากกรณีพระธุตังคเจดีย์ (พ.ศ. 2503) และพระวิริยะมงคลมหาเจดีย์
ศรีรัตนโกสินทร์ (พ.ศ. 2518) ในเชิงความหมาย พบว่า การเปลี่ยนแปลงทางสังคมมีผลต่อแนวคิดการสถาปนา
พระมหาเจดีย์ที่เปลี่ยนแปลงไปจากแบบจารีตพุทธศาสนาและมีการสร้างสรรค์สิ่งใหม่ผสมผสาน ซึ่งเมื่อคติการบูชา
ถูกปรับเปลี่ยนก็ย่อมส่งผลต่อแบบแผนการใช้พื้นที่ศาสนสถาน และแนวคิดที่เกิดขึ้นใหม่นี้ ได้กลายเป็นสัญลักษณ์ของ
พระป่ากรรมฐาน อีกทั้งยังเป็นต้นแบบให้กับแนวคิดในการสถาปนาเจดีย์ในเวลาต่อมา

 

ABSTRACT

The construction of Phra Maha Chedi, tremendous stupa in Thai society had been pause for many decades since the late 25th Buddhist Era. The changes of contemporary society influenced the idea of construction. In the 26th Buddhist Era, Phra Maha Chedi was established again under the new circumstance of Thai society. The objective of this study was to investigate the belief of the establishment of Phra Maha Chedi in the early 26th century Buddhist of Luang Pu Man Bhuridatta, which had never been appeared in Thai society before, especially in the capital city and neighbourhoods. The Buddhist traditional comparison between the case of Phra TuTungka Chedi in 1960 and Phra Wiriya Mongkon Maha Chedi Sri Rattanakosin in 1975 in term of meaning was employed to use as a methodology. The result of this study was found that social changes influenced on the idea of the establishment of Phra Maha Chedi whose pattern was improved based on the old tradition as well as new construction was created. Apparently, the transition of worship and belief affected the pattern of sacred place’s usage. In addition, this idea became the symbol of forest monk and led to the idea of establish Chedi (stupa) subsequently.

Author Biographies

ภัทระ ไมตระรัตน์

นักศึกษา หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาสถาปัตยกรรมศาสตร์ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่

ทรงยศ วีระทวีมาศ

อาจารย์ประจำ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2016-12-31