สำนึกในถิ่นที่ในย่านการค้าเก่าเมืองอุบลราชธานี Sense of Place in Ubon Ratchathani Old Commercial District

ผู้แต่ง

  • ดนัย นิลสกุล
  • นพดล ตั้งสกุล

คำสำคัญ:

Sense of Place, Old Commercial District, Ubon Ratchathani, สำนึกในถิ่นที่, ย่านการค้าเก่า, อุบลราชธานี

บทคัดย่อ

บทคัดย่อ
บทความนี้เป็นกระบวนการค้นหาส????ำนึกในถิ่นที่ของคนที่สัมพันธ์กับย่านการค้าเก่าเมืองอุบลราชธานี โดยใช้
ระเบียบวิธีวิจัยแบบผสมระหว่างการวิจัยเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ ผลการศึกษาพบว่าการด????ำรงอยู่แบบคนใน
มีส????ำนึกในถิ่นที่ชัดเจน โดยจะเกิดขึ้นในคนที่มีการใช้ชีวิตที่เติบโตมาพร้อมกับพัฒนาการของย่าน รวมถึงคนที่เข้ามา
สัมพันธ์กับย่านเป็นประจ????ำ ได้แก่ คนที่อาศัยอยู่ในย่าน คนที่เข้ามาท????ำงาน และคนที่มาซื้อสินค้าและใช้บริการ ซึ่งส????ำนึก
ในถิ่นที่นี้จะพิจารณาจากการแสดงออกทางด้านประสบการณ์ ความเป็นเจ้าของ ความผูกพัน และการมีส่วนร่วมกับ
ย่าน ส่วนองค์ประกอบภายในย่านที่ท????ำให้เกิดส????ำนึกในถิ่นที่ ประกอบด้วยลักษณะทางกายภาพของพื้นที่ กิจกรรม
วัฒนธรรม ศักยภาพการด????ำรงอยู่ และวิถีชีวิต สิ่งเหล่านี้สะท้อนถึงคุณภาพทางสภาพแวดล้อมของย่านทั้งมิติทาง
กายภาพและมิติทางสังคมที่ยังคงความส????ำคัญและมีความหมายต่อผู้คน

 

ABSTRACT
The article aims for searching sense of place in relation to the old commercial district of
Ubon Ratchathani city center, using a combination of research methodology both from quantitative
and qualitative methods. The study found that the existence of an “insider” shown an obviously
strong in sense of place was found in people who have grown up and spent the life cycle in the
district including those who were living, working, buying merchandises and engaging in services.
Sense of place was based on the expression of the experience, belonging, attachment and
commitment of people who response to the district. Moreover the district’s elements that
contribute to a sense of place were its physical, people’ activities, culture, potentiality existence
and way of life. These elements have reflected the quality of the environment in both physical
dimension and social dimension that is still important and meaningful to them.

Author Biographies

ดนัย นิลสกุล

นักศึกษาระดับดุษฎีบัณฑิต สาขาสถาปัตยกรรมศาสตร์ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

(บทความนี้เป็นส่วนหนึ่งของดุษฎีนิพนธ์เรื่อง ความผูกพันสถานที่และส????ำนึกในถิ่นที่ในย่านการค้าเก่าเมืองอุบลราชธานี สาขาสถาปัตยกรรมศาสตร์
คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ซึ่งได้รับทุนสนับสนุนการเผยแพร่และตีพิมพ์จากศูนย์วิจัยพหุลักษณ์สังคมลุ่มนำ้???? โขง
มหาวิทยาลัยขอนแก่น)

นพดล ตั้งสกุล

อาจารย์ประจ????ำ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2017-07-01