การสำรวจสภาวะสบายเชิงความร้อนของนักศึกษาในห้องไม่ปรับอากาศ Field Study of Thermal Comfort of University Students in Non-Air Conditioned Room

ผู้แต่ง

  • สุดาภรณ์ สุดประเสริฐ

คำสำคัญ:

Adaptive Thermal Comfort, Thermal Sensation, Non-air Conditioned Room, Hot and Humid Climate, สภาวะสบายเชิงความร้อนแบบปรับตัว, ความรู้สึกเชิงความร้อน, ห้องไม่ปรับอากาศ, สภาวะภูมิอากาศ, แบบร้อนชื้น

บทคัดย่อ

บทคัดย่อ
งานวิจัยนี้เป็นงานวิจัยเชิงส????ำรวจด้วยแบบสอบถามในกลุ่มตัวอย่างนักศึกษาในห้องทดลองไม่ปรับอากาศ
โดยศึกษาผลการให้ค่าคะแนนความรู้สึกทางความร้อนตั้งแต่ระดับ -3 (รู้สึกหนาว) ถึง +3 (รู้สึกร้อนมาก) ก่อนและ
หลังการปรับตัว การปรับสภาพแวดล้อมและการยอมรับการใช้พื้นที่ในห้องไม่ปรับอากาศ ผลการส????ำรวจกลุ่มตัวอย่าง
นักศึกษาในห้องทดลองพบว่าก่อนการปรับสภาพแวดล้อม ผลการให้ค่าคะแนนเฉลี่ยมีระดับความรู้สึกเท่ากับ +1.5
(ร้สู กึ ร้อน) หลงั จากการปรบั สภาพแวดล้อมด้วยการเปิดพดั ลม เปิดพดั ลมไอเย็นและเปิดหน้าต่างรวมกนั ได้ผลการให้
ค่าคะแนนเฉลี่ยที่ระดับความร้สู ึกเท่ากับ 0 (ร้สู ึกสบาย) กล่มุ ตัวอย่างนักศึกษายอมรับสภาพแวดล้อมในห้องทดลองได้
คิดเป็นร้อยละ 81 โดยส่วนใหญ่คาดหวังให้มีการปรับอากาศ ซึ่งอาจเป็นผลมาจากการแต่งกายที่มีความเป็นฉนวนสูงและ
การอยู่สถานที่สาธารณะท????ำให้มีข้อจ????ำกัดด้านการปรับส่วนตัว ผลการวิเคราะห์พบว่าการปรับสภาพแวดล้อมด้วยการ
ใช้พัดลม พัดลมไอเย็นและการเปิดประตูหน้าต่าง ส่งผลต่อความรู้สึกสบายในกลุ่มอาสาสมัครที่แต่งกายด้วย
ชุดนักศึกษาและชุดกึ่งทางการมากที่สุด

 

ABSTRACT
This research is a survey with a questionnaire in a sample of students in the non-air conditioned
room. This study aims to compare the mean votes of thermal sensation, ranging from -3 (feeling cold)
to +3 (feeling hot), before and after the personal adjustment, environmental adjustment, and the
acceptability of non-air conditioned room. With 306 data sets, the results show the mean votes decrease
from +1.5 (warm) to 0 (neutral) after adjustment of a table fan, an air-cool fan, and windows. Students
of 81 percent accept thermal environment in the room, but they expect air conditioning. Subjects
expect air conditioned room because they put on high insulation clothes and there are limitations in
personal adjustments in the public place. It was found that most of students, who wear university
uniforms and semiformal clothes, can achieve thermal comfort by adjusting of environmental controls.

Author Biography

สุดาภรณ์ สุดประเสริฐ

อาจารย์ประจ????ำ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการผังเมือง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
E-mail: sudaporn@ap.tu.ac.th
(บทความนี้เป็นส่วนหนึ่งของโครงการวิจัยเรื่อง การศึกษาการปรับตัวเชิงพฤติกรรมและสิ่งแวดล้อมเพื่อปรับปรุงความสบายเชิงอุณหภาพ
ของคนไทยในอาคาร)

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2016-12-31