วิเคราะห์เสรีภาพในปรัชญาของรพินทรนาถ ฐากูรกับเดวิด ฮิวม์

ผู้แต่ง

  • พระมหามฆวินทร์ อามาตมนตรี ศูนย์วิจัยธรรมศึกษา สำนักเรียนวัดอาวุธวิกสิตาราม

คำสำคัญ:

เสรีภาพ, รพินทรนาถ ฐากูร, เดวิด ฮิวม์

บทคัดย่อ

บทความเรื่องนี้ สรุปได้ว่า เสรีภาพในทรรศนะของรพินทรนาถ ฐากูร เป็นแนวเทวนิยมคือเสรีภาพของมนุษย์ในโลกขึ้นอยู่กับพระผู้เป็นเจ้า พระผู้เป็นเจ้าเป็นสิ่งจริงแท้ที่มีการเคลื่อนไหว มีพลัง พระองค์มีส่วนเกี่ยวข้องกับอาตมันนับจานวนไม่ถ้วนที่มีอยู่ในจักรวาล ส่วนเสรีภาพในทรรศนะของเดวิด ฮิวม์ เป็นเสรีภาพแนวประจักษนิยม ปฏิเสธจิตสารหรือตัวตน เมื่อไม่มีจิตหรือตัวตนก็ไม่มีผู้สร้างหรือพระเจ้า

References

กีรติ บุญเจือ. (2522). ปรัชญาลัทธิอัตถิภาวนิยม. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ไทยวัฒนาพาณิช.

ชเอิญศรี อิศรางกูร ณ อยุธยา. (2539). ปรัชญาตะวันตกสมัยใหม่. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

ชัยวัฒน์ อัตพัฒน์. (2539). ปรัชญาตะวันตกสมัยใหม่ 2. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

ปรีชา ช้างขวัญยืน. (2538). ปรัชญาแห่งอุดมการณ์ทางการเมือง. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ราชบัญฑิตยสถาน. (2540). พจนานุกรมศัพท์ปรัชญา อังกฤษ-ไทย. กรุงเทพฯ: ห้างหุ้นส่วนจำกัดอรุณการพิมพ์.

สถิต วงศ์สวรรค์. (2540). ปรัชญาเบื้องต้น. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์อักษรพิทยา.

สุวรรณ เพชรนิล. (2534). ปรัชญาอินเดียร่วมสมัย. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

อดิศักดิ์ ทองบุญ. (2540). ปรัชญาอินเดียร่วมสมัย. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

30-12-2016