การปฏิบัติงานตามหลักสาราณียธรรมของบุคลากรศูนย์ซ่อมอากาศยาน กองการบินทหารเรือ กองเรือยุทธการ
คำสำคัญ:
สาราณียธรรม, ศูนย์ซ่อมอากาศยาน, กองการบินทหารเรือ, กองเรือยุทธการบทคัดย่อ
วิจัยนี้ พบว่า การปฏิบัติงานตามหลักสาราณียธรรมของบุคลากรศูนย์ซ่อมอากาศยาน กองการบินทหารเรือ กองเรือยุทธการ ทั้ง 6 ด้าน พบว่า ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก และเมื่อพิจารณาใน แต่ละด้าน พบว่า อยู่ในระดับมากทุกด้าน การเปรียบเทียบพบว่า บุคลากรที่มีเพศ สถานภาพสมรส และระดับการศึกษาที่ต่างกัน มีการปฏิบัติงานตามหลักสาราณียธรรม โดยภาพรวมไม่แตกต่างกัน ส่วนบุคลากรที่มีอายุ สังกัดและรายได้ที่ต่างกันมีการปฏิบัติงานตามหลักสาราณียธรรม โดยภาพรวมแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 เกี่ยวกับการปฏิบัติงานตามหลักสาราณียธรรมพบว่า มีการแสดงความเคารพซึ่งกันและกันเฉพาะภายในที่ทำงานเท่านั้น เมื่อมีการทำงานผิดพลาดมักจะมีการดุด่าว่ากล่าวมากกว่าการแนะนำ ยังมีการหลีกเลี่ยงงานที่กระทำร่วมกันการแบ่งปันสิ่งของบางอย่างยังไม่ทั่วถึงทุกคน ยังมีการประพฤติผิดระเบียบวินัย การประชุมบางครั้งไม่สามารถตกลงกันได้ จึงทำให้ไม่สามารถแก้ปัญหาที่ต้องการได้และบางคนไม่มีโอกาสในการแสดงความคิดเห็นในการร่วมกิจกรรม
References
ขวัญใจ มีทิพย์. (2543). ปัจจัยจูงใจที่มีผลต่อประสิทธิภาพการปฏิบัติงาน : ศึกษาเฉพาะกรณีกองพันปฏิบัติการพิเศษ 1 (คอมแมนโด) กองทัพอากาศ. วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชารัฐศาสตร์, มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
ชาตรี แนวจาปา. (2552). การประยุกต์ใช้อิทธิบาท 4 ในการปฏิบัติหน้าที่ของบุคลากรสำนักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย กรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์ปริญญาพุทธศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2539). พระไตรปิฎกฉบับภาษาไทย มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
บุญมี บุญเอี่ยม. (2544). ศึกษาการนาอิทธิบาท 4 ไปใช้ในการทำงานของพนักงานศูนย์ควบคุมการบินภูเก็ต บริษัท วิทยุการบินแห่งประเทศไทย จำกัด. วิทยานิพนธ์ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยทักษิณ.
ปทุมพร สุขอาษา. (2546). การปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่ของคณะกรรมการบริหารศูนย์ประสาน งานองค์กรชุมชนระดับตำบล จังหวัดสมุทรสงคราม. วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาสังคมศาสตร์เพื่อการพัฒนา, มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม.
ปรียาพร วงศ์อนุตรโรจน์. (2535). จิตวิทยาการบริหารงานบุคคล. กรุงเทพฯ: พิมพ์ดี.
ผู้บัญชาการทหารเรือ. (2551). ธรรมานุศาสน์. กระดูกงู. กองเรือยุทธการ, (พฤษภาคม) :36.
พระธรรมปิฎก (ป.อ. ปยุตฺโต). (2538). พิมพ์ครั้งที่ 8. พจนานุกรมพุทธศาสตร์ฉบับประมวลธรรม. กรุงเทพฯ: มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
พยอม วงศ์สารศรี. (2542). การบริหารทรัพยากรมนุษย์. กรุงเทพฯ: คณะวิทยาการจัดการสถาบันราชภัฎสวนดุสิต.
พิเชษฐ์ วงศเกียรติ์ขจร. (2552). แนวคิด ยุทธศาสตร์ การบริหารการพัฒนาองค์กรปกครองท้องถิ่น (อปท) ในยุคโลกาภิวัตน์. กรุงเทพฯ: ปัญญาชน.
วิศุทธิ์ ขวัญพฤกษ์. (2539). การศึกษาหลักธรรมของพุทธศาสนาที่สามารถนามาปรับใช้กับการบริหารงานบุคคลในองค์กรธุรกิจ. วิทยานิพนธ์ปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
ศิริวรรณ เสรีรัตน์ และคณะ. (2545). องค์การและการจัดการ. กรุงเทพฯ: ธรรมสาร.
สมคิด บางโม. (2540). องค์การและการจัดการ. กรุงเทพฯ: พิมพ์ดี.
สมพงษ์ เกษมสิน. (2521). การบริหาร. กรุงเทพฯ: สานักพิมพ์ไพบูลย์สำราญภูติ.
สุนันทา เลาหนันทน์. (2531). การพัฒนาองค์การ. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์รุ่งวัฒนา.
สุภาวดี บริกุล. (2552). ความสัมพันธ์ระหว่างการปฏิบัติงานตามหลักอิทธิบาท 4 กับประสิทธิภาพการทำงาน : ศึกษาเฉพาะกรณี บริษัท ดูเม็กซ์ จำกัด (ประเทศไทย). วิทยานิพนธ์ปริญญาพุทธศาสตร มหาบัณฑิต, สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
ธงชัย สันติวงษ์. (2537). พิมพ์ครั้งที่ 7. การบริหารงานบุคคล. กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพานิช.
Barnard, Chester I. (1970). The Function of Executive. Massachusettes: Harvard University.
Cronbach, Lee J. (1971). 4th ed. Essentials of psychological testing. New York: Harper & Row.
Fayol, Henri. (1930). Industrial and General Administration. New York: Mc-Grew Hill.
Getzels J.W. (1957). Creativity and Intelligence: Exploration with Gifted Students. New York: Wiley.
Getzels, Jacop W. and Guba, Egon G. (1973). Social Behavior and the Administrative Process. School Review, Vol. 65: 164-175.