ปรัชญามาธยมิกะตามแนวคิดของพระนาคารชุน
คำสำคัญ:
ประวัติและผลงาน, ปรัชญามาธยมิกะ, พระนาคารชุนบทคัดย่อ
บทความเรื่องนี้มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาประวัติและผลงานของพระนาคารชุน 2) เพื่อศึกษา ปรัชญามาธยมิกะตามแนวคิดของพระนาคารชุน จากการศึกษา พบว่า ปรัชญามาธยมิกะตามแนวคิดของพระ นาคารชุนกล่าวถึงความว่างหรือศูนยตาเป็นแนวคิดหลักและเป็นแนวคิดที่ลึกซึ้ง ไม่เป็นทิฏฐิแบบสัสสตทิฏฐิ และอุจเฉททิฎฐิ เป็นความรู้แบบมัชฌิมปฎิปทา ไม่เป็นแนวคิดแบบอัตถิกาและนัตถิกา
References
จำนง ทองประเสริฐ แปล. (2540). บ่อเกิดลัทธิประเพณีอินเดีย เล่ม 1 ภาค 1-4. กรุงเทพฯ: ราชบัณฑิตยสถาน.
ฉัตรสุมาลย์ กบิลสิงห์ บัฏเสน. (2538). พระพุทธศาสนาแบบธิเบต. กรุงเทพฯ: ศูนย์ไทยธิเบต.
พระราชธรรมนิเทศ (ระแบบ ฐิตญาโณ) . (2536). พิมพ์ครั้งที่ 3. ประวัติศาสตร์พระพุทธศาสนา. กรุงเทพฯ: มหามกุฏราชวิทยาลัย.
พระมหา ดร.สุวิน สจฺจวิชฺโช. (2543). เอกสารประกอบการบรรยายวิชาพุทธปรัชญามหายาน. คณะศาสนา และปรัชญา มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย.
พิฆเณศ นิภารัตน์. (2555). อิทธิพลของพุทธศาสนาดั้งเดิมต่อหลักค าสอนของพระนาคารชุนในปรัชญา มาธยมิกะ. สาขาวิชาปรัชญาและศาสนา ภาควิชาปรัชญาและศาสนา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
ภรัต ซิงห์ อุปัธยายะ แปลโดย อมร โสภณวิเชฏฐวงศ์. (2542). นักปราชญ์พุทธ. กรุงเทพฯ: มหามกุฏราชวิทยาลัย.
วัชระ งามจิตรเจริญ. (2554). สมการความว่าง. นนทบุรี: สำนักพิมพ์กรีน ปัญญาญาณ.
สภาการศึกษามหามกุฏราชวิทยาลัย. (2537). พุทธศาสนประวัติระหว่าง 2500 ปีที่ล่วงแล้ว. กรุงเทพฯ: ห้าง หุ้นส่วนจำกัด โรงพิมพ์สุรวัฒน์.
สุชิน ทองหยวก. (2509). ปรัชญามาธยมิก. กรุงเทพฯ: มหามกุฏราชวิทยาลัย.
เสถียร โพธินันทะ. (2518) . ประวัติศาสตร์พระพุทธศาสนา ฉบับมุขปาฐะ ภาค 1. กรุงเทพฯ: มหามกุฏราช วิทยาลัย.
เสถียร โพธินันทะ. (2522). พิมพ์ครั้งที่ 4. ปรัชญามหายาน. กรุงเทพฯ: มหามกุฏราชวิทยาลัย.
เสถียร โพธินันทะ. (2540). วัชรปรัชญาปารมิตาสูตร. กรุงเทพฯ: มหามกุฏราชวิทยาลัย.
สมภาร พรมทา. (2540). พุทธศาสนามหายาน : นิกายหลัก. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สุมาลี มหณรงค์ชัย. (2548). พระนาคารชุนะกับค าสอนว่าด้วยทางสายกลาง. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ศยาม.
โสรัจจ์ หงศ์ลดารมภ์ แปล. (2551). โศลกมูลฐานว่าด้วยทางสายกลาง (มูลมัธยมกการิกา) โดย นาคารชุน. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มูลนิธิพันดารา.
สุวิญ รักสัตย์. (2555). พระพุทธศาสนามหายาน. กรุงเทพฯ: ห้างหุ้นส่วนบางกอกบล็อก.
อดิศักดิ์ ทองบุญ. (2532.). พิมพ์ครั้งที่ 2. ปรัชญาอินเดีย. กรุงเทพฯ: ราชบัณฑิตยสถาน.
อภิชัย โพธิ์ประสิทธิ์ศาสต์. (2539). พระพุทธศาสนามหายาน. กรุงเทพฯ: มหามกุฏราชวิทยาลัย.
อภิญวัฒน์ โพธิ์สาน. (2549). ชีวิตและผลงานของนักปราชญ์พุทธ. มหาสารคาม: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัย มหาสารคาม.
Kalupahana David J. (1 9 8 6 ). Nagarjuna : The Philosophy of the Middle Way. State University of New York Press.
Walleser, M. (1990). The Life of Nagarjuna from Tibetan and Chinese Sources. Madras: Asian Education Services.
Tachikawa, Musachi. (1 9 97). An Introduction to The Philosophy of Nagarjuna. Delhi: Motilal Banarsidass Publishers.
ฉัตรสุมาลย์ กบิลสิงห์ บัฏเสน. (2538). พระพุทธศาสนาแบบธิเบต. กรุงเทพฯ: ศูนย์ไทยธิเบต.
พระราชธรรมนิเทศ (ระแบบ ฐิตญาโณ) . (2536). พิมพ์ครั้งที่ 3. ประวัติศาสตร์พระพุทธศาสนา. กรุงเทพฯ: มหามกุฏราชวิทยาลัย.
พระมหา ดร.สุวิน สจฺจวิชฺโช. (2543). เอกสารประกอบการบรรยายวิชาพุทธปรัชญามหายาน. คณะศาสนา และปรัชญา มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย.
พิฆเณศ นิภารัตน์. (2555). อิทธิพลของพุทธศาสนาดั้งเดิมต่อหลักค าสอนของพระนาคารชุนในปรัชญา มาธยมิกะ. สาขาวิชาปรัชญาและศาสนา ภาควิชาปรัชญาและศาสนา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
ภรัต ซิงห์ อุปัธยายะ แปลโดย อมร โสภณวิเชฏฐวงศ์. (2542). นักปราชญ์พุทธ. กรุงเทพฯ: มหามกุฏราชวิทยาลัย.
วัชระ งามจิตรเจริญ. (2554). สมการความว่าง. นนทบุรี: สำนักพิมพ์กรีน ปัญญาญาณ.
สภาการศึกษามหามกุฏราชวิทยาลัย. (2537). พุทธศาสนประวัติระหว่าง 2500 ปีที่ล่วงแล้ว. กรุงเทพฯ: ห้าง หุ้นส่วนจำกัด โรงพิมพ์สุรวัฒน์.
สุชิน ทองหยวก. (2509). ปรัชญามาธยมิก. กรุงเทพฯ: มหามกุฏราชวิทยาลัย.
เสถียร โพธินันทะ. (2518) . ประวัติศาสตร์พระพุทธศาสนา ฉบับมุขปาฐะ ภาค 1. กรุงเทพฯ: มหามกุฏราช วิทยาลัย.
เสถียร โพธินันทะ. (2522). พิมพ์ครั้งที่ 4. ปรัชญามหายาน. กรุงเทพฯ: มหามกุฏราชวิทยาลัย.
เสถียร โพธินันทะ. (2540). วัชรปรัชญาปารมิตาสูตร. กรุงเทพฯ: มหามกุฏราชวิทยาลัย.
สมภาร พรมทา. (2540). พุทธศาสนามหายาน : นิกายหลัก. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สุมาลี มหณรงค์ชัย. (2548). พระนาคารชุนะกับค าสอนว่าด้วยทางสายกลาง. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ศยาม.
โสรัจจ์ หงศ์ลดารมภ์ แปล. (2551). โศลกมูลฐานว่าด้วยทางสายกลาง (มูลมัธยมกการิกา) โดย นาคารชุน. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มูลนิธิพันดารา.
สุวิญ รักสัตย์. (2555). พระพุทธศาสนามหายาน. กรุงเทพฯ: ห้างหุ้นส่วนบางกอกบล็อก.
อดิศักดิ์ ทองบุญ. (2532.). พิมพ์ครั้งที่ 2. ปรัชญาอินเดีย. กรุงเทพฯ: ราชบัณฑิตยสถาน.
อภิชัย โพธิ์ประสิทธิ์ศาสต์. (2539). พระพุทธศาสนามหายาน. กรุงเทพฯ: มหามกุฏราชวิทยาลัย.
อภิญวัฒน์ โพธิ์สาน. (2549). ชีวิตและผลงานของนักปราชญ์พุทธ. มหาสารคาม: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัย มหาสารคาม.
Kalupahana David J. (1 9 8 6 ). Nagarjuna : The Philosophy of the Middle Way. State University of New York Press.
Walleser, M. (1990). The Life of Nagarjuna from Tibetan and Chinese Sources. Madras: Asian Education Services.
Tachikawa, Musachi. (1 9 97). An Introduction to The Philosophy of Nagarjuna. Delhi: Motilal Banarsidass Publishers.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
30-06-2016
How to Cite
ฉบับ
บท
บทความวิชาการ