ปรัชญาประเพณีของศาสนาอิสลามที่มีอิทธิพลต่อสังคมไทย
คำสำคัญ:
ปรัชญาประเพณี, สังคมไทย, ศาสนาอิสลามบทคัดย่อ
บทความเรื่องนี้มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาศาสนาอิสลาม 2) เพื่อศึกษาปรัชญาประเพณีของศาสนาอิสลาม 3) เพื่อวิเคราะห์ปรัชญาประเพณีของศาสนาอิสลามที่มีอิทธิพลต่อสังคมไทย ผลการศึกษาพบว่า 1) ศาสนาอิสลามเป็นศาสนาที่สำคัญศาสนาหนึ่งที่มีจำนวนประชากรที่นับถือเป็นจำนวนมาก นับถือพระเจ้าองค์เดียว คือ อัลเลาะห์ และมีศาสนศาสตาดาประกาศศาสนาคือ นบี มูฮัมหมัด โดยมีคัมภีร์ชื่อ อัลกุรอาน และมีอีหม่ามเป็นผู้นำกล่าวแก่ ศาสนิก เพื่อเข้าถึงพระเจ้า ศาสนาอิสลามถือกำเนิดขึ้นในดินแดนที่เรียกว่าประเทศซาอุดิอาระเบียในปัจจุบัน ได้เขาเข้ามาอยู่ในแผ่นดินที่เรียกว่าประเทศไทยนี้ตั้งแต่ก่อนการบันทึกประวัติศาสตร์ชาติไทย 2) มีวิถีชีวิตที่ผูกติดกับหลักบทบัญญัติทางศาสนาตั้งแต่เกิดจนตาย แต่เพื่อให้เข้ากับบริบทของสังคม ชาวมุสลิมได้มีการวิวัฒนาการเพื่อให้อยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างสันติตามหลักศาสนา
References
ฉัตรดนัย ใจเพ็ชร. (2546). โครงสร้างสังคมวัฒนธรรมไทยมุสลิม: ศึกษาเฉพาะกรณีจังหวัดปัตตานี. ภาคนิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.
ปริญวิทย์ อิสมาแอลและคณะ. (2540). วิถีอิสลาม. กรุงเทพฯ: จิรรัชการพิมพ์.
มนุษย์ศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ. (2558). อิสลาม (อามีน ลอนา, พัฒนาการการเขียนประวัติศาสตร์อิสลามในสังคมไทย ยุครัฐจารีต–2511. วารสารมนุษย์ศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ.
อัลลามะฮ เชค มุฮัมมัด ศอลิห์ อัล ฮุชัยมีน. (2552). อธิบายพื้นฐานการศรัทธาชั้นฮุอุซูลุลอีหม่าม โดยอบุยุซรอ อิสมาอีล อะหมัด. กรุงเทพฯ: นัทชาพริ้นติ้ง.
เสาวนีย์ จิตต์หมวด. (2535). วัฒนธรรมอิสลาม. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ทางนำ.
ฮัมมูดะฮ อับดุลอาฎีย์ และอับดุลเลาะอับรู. (มปพ.). อิสลามและมุสลิม. ปัตตานี: สำนักงานวิชาการและบริการชุมชน วิทยาลัยอิสลามศึกษา มหาวิทยาลัยสงขานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี.
https://www.lib.ru.ac.th/journal/islamic-culture/valimah.html. สืบค้นข้อมูลเมื่อ 27 มกราคม 2560.
https://region7.prd.go.th/ewt_news.php?nid=30405&filename=index. สืบค้นข้อมูลเมื่อ 27 มกราคม 2560.
https://sites.google.com/site/culturemono/wathnthrrm-laea-prapheni-thi-nabthux-sasna-xislam. สืบค้นข้อมูลเมื่อ 27 มกราคม 2560.