ศึกษาวิเคราะห์แนวคิดอภิมนุษย์ของฟรีดริช นิทเช่
คำสำคัญ:
แนวคิดและปรัชญา, ศรีออโรพินโท, สวามี วิเวกานันทะบทคัดย่อ
บทความเรื่องนี้ สรุปได้ว่า แนวคิดและปรัชญาของศรีออโรพินโทได้รับอิทธิพลจากระบบปรัชญาแบบเดิมและวรรณคดีตะวันตกเป็นส่วนใหญ่ เป็นปรัชญาเชิงวิเคราะห์ เป็นจิตนิยม บูรณนิยม บูรณวาท หรือ อทวินิยม ส่วนแนวคิดและปรัชญาของสวามี วิเวกานันทะได้รับอิทธิพลมาจากปรัชญาเวทานตะและคัมภีร์ทางพระพุทธศาสนา อภิปรัชญาของท่านเป็นจิตนิยม เพราะถือว่าความจริงเป็นเรื่องของจิต แต่จิตกับวัตถุ ยังอิงอาศัยกันและกัน
References
กีรติ บุญเจือ. (2522). ชุดปัญหาปรัชญา : ปรัชญาอัตถิภาวนิยม (Existentialism). กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพานิช.
กีรติ บุญเจือ. (2524). วิถีสู่อภิมนุษย์. กรุงเทพฯ: วิชาการ.
กีรติ บุญเจือ. (2555). นีทเฉอ : ผู้บุกเบิกแนวคิดหลังนวยุค ด้วยวิถีสู่อภิมนุษย์และซึ้งสุนทรีย์. กรุงเทพฯ: สยามปริทัศน์.
เจษฎา ทองรุ่งโรจน์. (2557). พจนานุกรมอังกฤษ – ไทย ปรัชญา. กรุงเทพฯ: แสงดาว.
ชัยวัฒน์ อัตพัฒน์. (2549). ปรัชญาตะวันตกร่วมสมัย (Contemporary Western Philosophy). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
ชัยวัฒน์ อัตพัฒน์. (2555). ญาณวิทยา (ทฤษฎีความรู้). กรุงเทพฯ: สาละพิมพการ.
ชัยวัฒน์ อัตพัฒน์. (2558). ปรัชญาตะวันตกสมัยใหม่ 2 (Modern Western Philosophy 2). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
ชเอิญศรี อิศรางกูร ณ อยุธยา. (2520). ปรัชญากรีก. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
นงเยาว์ ชาญณรงค์. (2557). ศาสนากับสังคม (Religion and Society). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
ทวี ผลสมภพ. (2555). ปรัชญาศาสนา (Philosophy of Religion). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
เทพทวี โชควสิน แปล. Laurence Gane. (2549). นิทเช่ (Introducing Nietzsche). กรุงเทพฯ: มูลนิธิเด็ก.
ปานทิพย์ ศุภนคร. (2551). ปรัชญาเอกซิสเตนเชียลลิสต์ (Existentialist Philosophy). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
ปานทิพย์ ศุภนคร. (2554). ปรัชญาจีน (Chinese Philosophy). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
พระพรหมบัณฑิต (ประยูร ธมฺมจิตฺโต). (2559). ปรัชญากรีก : บ่อเกิดภูมิปัญญาตะวันตก. กรุงเทพฯ: สยามปริทัศน์.
ฟื้นดอกบัว. (2555). ปวงปรัชญากรีก. กรุงเทพฯ: สยามปริทัศน์.
โยสไตน์ กอร์เดอร์. (2557). โลกของโซฟี. กรุงเทพฯ: โครงการจัดพิมพ์คบไฟ.
ลักษณวัต ปาละรัตน์. (2556). ญาณวิทยา. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
วิลล์ ดูแรนท์. วันเพ็ญ บงกชสถิตย์ แปล. (2535). ชีวิตและความคิดของนักปรัชญา 1 - 2. กรุงเทพฯ: มูลนิธิโครงการตำราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์.
ศักดิ์ ศาลยาชีวิน แปล. ฟรีดิช วิลเฮล์ม นิทเช่ เขียน. (2550). ดังนั้น พูดซาราธุสตรา (Thus spoke Zarathustra). กรุงเทฯ: โฆษิต.
สุธรรม ชูสัตย์สกุล. (2545). ปรัชญาตะวันตกสมัยใหม่ (Modern Western Philosophy). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย.
ส.ศิวรักษ์ แปลและเรียบเรียง. (2553). โสกราตีส. กรุงเทพฯ: เคล็ดไทย.
เสถียร พันธรังสี. (2542). ศาสนาเปรียบเทียบ. กรุงเทพ : สุขภาพใจ.
พระมหาพยุงศักดิ์ ธมฺมวิสุทฺธิเมธี (โสภาสาย). (2554). การศึกษาวิเคราะห์มนุษย์ที่สมบูรณ์ตามแนวพุทธปรัชญา. วิทยานิพนธ์ปริญญาพุทธศาสตรมหาบัณฑิต (ปรัชญา), บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย,
ยุวยง ศรีบุญเรือง. (2547). แนวคิดทางจริยศาสตร์อัตนิยมของนิตเช่. วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาจริยศาสตร์ศึกษา, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยมหิดล.
วนิดา คุตตวัส. (2523). ความสัมพันธ์ระหว่างทรรศนะเรื่องนิจวัฏกับการวิจารณ์จริยศาสตร์ของนิทซ์เช่.วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาปรัชญาและศาสนา, บัณฑิตวิทยาลัย, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ศูนย์คริสตศาสนธรรมสังฆมณฑลราชบุรี. (2552).บทที่ 4: พระเยซูเจ้าทรงเป็นทั้งพระเจ้าแท้และมนุษย์แท้. http://www.kamsondeedee.com/main/30-ccp/ccp/1009-2009-07-27-12-53-00
ศูนย์คริสตศาสนธรรมสังฆมณฑลราชบุรี. (2552). บทที่ 5 พระเยซูคริสตเจ้าปฏิสนธิด้วยเดชะพระจิตบังเกิดจากพระนางพรหมจารีมารีอา. http://www.kamsondeedee.com/main/30-ccp/ccp/1019-2009-07-29-12-47-06
Daniel Khuan Thinwan. (2550). การอัศจรรย์ของพระเยซูเจ้า. http://dondaniele.blogspot.com/2012/08/blog-post_20.htmlhttp://dondaniele.blogspot.com/2012/08/blog-post_20.html
ศาสนาและปรัชญา มหาวิทยาลัยบูรพา. (2557). ประวัติและผลงานของฟรีดริช นิตเช่.