พระพุทธศาสนา : อิทธิพล บทบาท และแนวโน้มในยุโรป
คำสำคัญ:
พระพุทธศาสนา, อิทธิพลของพระพุทธศาสนา, บทบาทของพระพุทธศาสนา, แนวโน้มของพระพุทธศาสนาในยุโรปบทคัดย่อ
พระพุทธศาสนามีอิทธิพลในยุโรป เนื่องจากหลักแนวคิดและหลักดำเนินชีวิต เพราะที่เป็นแหล่งรวบรวมความรู้ตามความจริงในธรรมชาติ มีสมาคมชาวพุทธที่พร้อมจะส่งเสริมฐานคิดเกี่ยวกับพุทธศาสนาให้กับชาวยุโรป และองค์กรของคณะสงฆ์สามารถขับเคลื่อนพระพุทธศาสนาไปยังต่างแดนหรือยุโรปได้อีกทั้งพระพุทธศาสนามีบทบาทต่อชาวยุโรปในวิถีแห่งการดำเนินชีวิต ได้แก่ ด้านสังคมที่เน้นความสุขทางใจและช่วยลดปัญหาสังคม ด้านวัฒนธรรมที่มีรากฐานด้านวิถีชีวิตความเป็นอยู่ ภาษา ขนบธรรมเนียมประเพณี และศีลธรรม ด้านเศรษฐกิจที่มีการส่งเสริมให้เกิดแนวคิดแบบพอเพียงและลดความฟุ่มเฟือย ด้านการเมืองที่สนับสนุนให้เกิดการรู้จักเคารพหลักการ กฎระเบียบ กติกา และข้อบังคับต่าง ๆ และด้านการศึกษาที่มุ่งส่งเสริมงานเขียนวิชาการเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาที่เป็นแรงจูงใจที่ทำให้ชาวยุโรปสนใจศึกษาพระพุทธศาสนา เป็นแนวโน้มที่ดีของพุทธศาสนาในยุโรป เช่น องค์การสหประชาชาติสนับสนุนการขยายตัวของพระพุทธศาสนาไปยังดินแดนตะวันตกมากยิ่งขึ้น การร่วมมือกันของกลุ่มชาวพุทธทั่วโลกทำให้องค์กรพุทธศาสนาเข้มแข็งขึ้น และผลจากกระบวนทัศน์แบบพุทธศาสนาที่สอดรับกับสภาพการณ์ในยุโรป
References
ณกมล ชาวปลายนา ปุญชเขตต์ทิกุล. (มปป.). กระบวนทัศน์ความคิดสันติภาพในพระไตรปิฏก : ยุทธศาสตร์และทิศทางในการลดระดับความขัดแย้งในกระแสโลกใหม่. สืบค้นเมื่อ 3 มีนาคม 2562, จาก dspace.spu.ac.th/bitstream/123456789/941/1/12-กระบวนทัศน์สันติภาพใน....doc.
เดนา เมอร์เรียม. (2543). “คำปราศรัยแสดงความยินดี” ในคณะกรรมการจัดพิมพ์หนังสือการประชุมสุดยอดผู้นำชาวพุทธเพื่อการเผยแผ่พระพุทธศาสนาแห่งโลก ครั้งที่ 2 ณ พุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม ประเทศไทย ระหว่างวันที่ 9-11 พฤศจิกายน 2543, หน้า 403–405.
เดนา เมอร์เรียม. (2543). “กฏบัตรสมัชชาพระพุทธศาสนาแห่งโลก” ในคณะกรรมการจัดพิมพ์หนังสือการประชุมสุดยอดผู้นำชาวพุทธเพื่อการเผยแผ่พระพุทธศาสนาแห่งโลก ครั้งที่ 2 ณ พุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม ประเทศไทย ระหว่างวันที่ 9-11 พฤศจิกายน 2543, หน้า 762 - 772.
นภาพร เทพรักษา ศิริลักษณ์ หนูทอง และกาญจนา แก้วทอง. (2561). การบริหารจัดการของกรรมการกองทุนหมู่บ้าน เพื่อการจัดการกองทุนหมู่บ้านที่ยั่งยืนในอำเภอทุ่งใหญ่ จังหวัดนครศรีธรรมราช. การประชุมวิชาการระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช ครั้งที่ 4 “วิจัย และนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาชุมชนท้องถิ่นอย่างยั่งยืน” ระหว่างวันที่ 21-22 มิถุนายน 2561 ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช, หน้า 430-439.
เนื้อหาพระพุทธ ม.3. สืบค้นเมื่อ 3 มีนาคม 2562, จาก https://docs.google.com/document/d/1pdnfz34stzXyL3_T0d1V5z1ojq7uIgQbdDCIsY6xDK8/edit?pli=1.
บรรจง โสดาดี. (2546). การใช้ตรรกะในวิธีสอนของพระโพธิญาณเถระ (ชา สุภทฺโท). วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาปรัชญา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
บริษัท ไอแอมทัวร์ เอ็กซ์เพิร์ธ เซ็นเตอร์ อินเตอร์ กรุ๊ป จำกัด. (2559). ศาสนาและวัฒนธรรมสิงคโปร์. สืบค้นเมื่อ 4 มีนาคม 2562, จาก https://www.iam-tour.com/country_info/singapore-culture-religion/.
บ้านจอมยุทธ์. (2561). การควบคุมทางสังคม. สืบค้นเมื่อ 2 มีนาคม 2562, จาก http://www.baanjomyut.com/library_3/extension-5/social_control/02.html.
บ้านจอมยุทธ์. (2543). พระพุทธศาสนาในทวีปยุโรป. สืบค้นเมื่อ 3 มีนาคม 2562, จาก https://www.baanjomyut.com/library_2/extension3/buddhism_in_europe_america/01.html
บ้านจอมยุทธ์. (2561). การเผยแผ่พระพุทธศาสนา. สืบค้นเมื่อ 2 มีนาคม 2562, จาก http: //www.baanjomyut.com/library_2/extension-1/the_propagation_of_buddhism/02.html.
ปฐมพงษ์ โพธิ์ประสิทธินันท์. (2558). พุทธศาสนาในยุโรป. สืบค้นเมื่อ 3 มีนาคม 2562, จาก https://tangosaga.wordpress.com/2015/10/26/พุทธศาสนาในยุโรป/.
ปรีดี หงษ์สต้น. (2560, มกราคม-มิถุนายน). การรื้อฟื้นพุทธศาสนา (Buddhist Revival) ในศรีลังกาภายใต้ อาณานิคมอังกฤษช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19. วารสารสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร, ปีที่ 13 ฉบับที่ 1, หน้า 113-142.
พระเทพโสภณ (ประยูร ธมฺมจิตฺโต). (2547). วิสาขบูชาวันสำคัญสากลของโลก. กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
พระบอบ-ฮอง. (2543). “ทิศทางการวางแผนเผยแผ่พระพุทธศาสนาในศตวรรษที่ 21” ในคณะกรรมการจัดพิมพ์หนังสือการประชุมสุดยอดผู้นำชาวพุทธเพื่อการเผยแผ่พระพุทธศาสนาแห่งโลก ครั้งที่ 2 ณ พุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม ประเทศไทย ระหว่างวันที่ 9-11 พฤศจิกายน 2543, หน้า 727-738.
พระพุทธศาสนากับสถานการณ์ปัจจุบัน. (2562). สืบค้นเมื่อ 3 มีนาคม 2562, จาก www.mcutak.com/userfiles/file/.../พระพุทธศาสนากับสถานการณ์ปัจจุบัน.docx.
พระโพธิญาณเถระ (ชา สุภทโท). (2544). อุปลมณี. (พิมพ์ครั้งที่ 5). กรุงเทพมหานคร : ธรรมสภา.
พระมหานรินทร์ นรินฺโท. (2555). มุมมองของพระมหานรินทร์ ตอนที่ 4 วัดพุทธปทีป กรุงลอนดอน. สืบค้นเมื่อ 3 มีนาคม 2562, จาก http://www.alittlebuddha.com/PM%20Narin%20In%20Europe%202012/phramahanarinineurope04.html
พระอัครเดช ญาณเตโช (โลภะผล). (2557, กรกฎาคม–ธันวาคม). พุทธปรัชญาการศึกษา. วารสารอิเล็กทรอนิกส์ การเรียนรู้ทางไกลเชิงนวัตกรรม, ปีที่ 4 ฉบับที่ 2, หน้า 49-62.
พอล เดนนิสสัน. (2548). “ความเป็นมาของสมาคมสมถะ” ในมหาสมัยสูตร รวบรวมโดยพระมหาเหลา ประชาราษฎร์ วัดพุทธวิหารแอสตัน ประเทศอังกฤษ, หน้า 34.
พิณจ์ทอง แมนสุมิตร์ชัย. (2558). การุณยสาร : หนทางสู่สันติภาพ. วารสารสันติศึกษาปริทรรศน์ มจร ปีที่ 3 ฉบับที่ 2, หน้า 162-175.
โพสต์ทูเด. (2554). การศึกษาธรรมของชาวไทยในต่างแดนคึกคักพระพุทธศาสนาเข็มแข็ง. สืบค้นเมื่อ 3 มีนาคม 2562, จาก https://www.posttoday.com/dhamma/97445.
วงการพุทธ. (2560). พระพุทธศาสนาโกอินเตอร์. สืบค้นเมื่อ 3 มีนาคม 2562, จาก https://twitter.com/insightbuddhist/status/941236969484435456.
Blackburn, A.M. ‘Buddhist Revival’ and the ‘Work of Culture’ in Sri Lanka, Past and Present. In Seneviratne, H.L. (ed.). The Anthropologist and the Native: Essays for Gananath Obeyesekere. New York : Anthem Press.
Patara P., (2018). The Creation of Sculpture in Consumerism and Preservation Discourse. The 3rd National and International Conference on Weaving ASEAN Cultural Connection “ASEAN Art and Craft”, Innovation Building, Walailak University, Nakhon Si Thammarat, Thailand, August 31, 2018, P.20-41.
Philosophychicchic. (2560). สื่อการสอนแนะนำ. สืบค้นเมื่อ 3 มีนาคม 2562, จาก https://philosophychicchic.com/.
Wimalaratne, K.D.G. (1985). Buddhist Revival in Sri Lanka. Colombo : SATARA.