สังคหวัตถุองค์ธรรมแห่งการสังคมสงเคราะห์
คำสำคัญ:
สังคหวัตถุ, การสังคมสงเคราะห์, การให้บทคัดย่อ
หลักการสังคมสงเคราะห์มีพื้นฐานมาจากความเมตตากรุณาและความห่วงใยคนในสังคม ซึ่งหลัก สังคหวัตถุเป็นหลักธรรมที่ส่งเสริมการสงเคราะห์ซึ่งกันและกัน เพื่อให้เกิดการยึดเหนี่ยวทางจิตใจ ก่อให้เกิดความสามัคคีและสันติสุขในสังคม ประกอบด้วย 1) ทาน คือ การให้ 2) ปิยวาจา คือ การแนะนำสิ่งที่เป็นประโยชน์ด้วยถ้อยคำที่น่าฟัง 3) อัตถจริยา คือ การทำตนให้เป็นประโยชน์ 4) สมานัตตตา คือ การประพฤติตนด้วยความเสมอต้นเสมอปลาย เมื่อสงเคราะห์กันและกันด้วยหลักสังคหวัตถุ 4 ประการนี้ จะทำให้การอยู่ร่วมกันในสังคมด้วยความสามัคคี ช่วยเหลือเกื้อกูลซึ่งกันและกัน ความสันติสุขในการอยู่ร่วมกันในสังคมจึงเกิดขึ้น
References
วิไลวัจส์ กฤษณะภูติ. (2529). สังคมสงเคราะห์ศาสตร์เบื้องต้น. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์.
พระพรหมคุณาภาณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต). (2551). พจนานุกรม ฉบับประมวลธรรม. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย.
สถาบันบันลือธรรม. (ม.ป.ป.). การทำทาน : ธรรมทาน การถวายสังฆทาน การให้อภัยทาน. กรุงเทพฯ : ธรรมสภา.
โสภณ. (ม.ป.ป.) อภัยทาน. กรุงเทพฯ : ธรรมสภา.
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2539). พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
พระพรหมคุณาภาณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต). (2551). พจนานุกรม ฉบับประมวลธรรม. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย.
สถาบันบันลือธรรม. (ม.ป.ป.). การทำทาน : ธรรมทาน การถวายสังฆทาน การให้อภัยทาน. กรุงเทพฯ : ธรรมสภา.
โสภณ. (ม.ป.ป.) อภัยทาน. กรุงเทพฯ : ธรรมสภา.
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2539). พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
30-12-2019
How to Cite
ฉบับ
บท
บทความวิชาการ