ความสัมพันธ์ระหว่างคอง 14 กับหลักทศพิธราชธรรมที่มีต่อการส่งเสริมการปกครอง

ผู้แต่ง

  • พระปลัดธีระพงษ์ สุขิโต (ไชยวัน)
  • พระมหาดาวสยาม วชิรปญฺโญ

คำสำคัญ:

คอง 14, ทศพิธราชธรรม, การส่งเสริมการปกครอง

บทคัดย่อ

บทความวิชาการนี้เป็นการนำเสนอความสัมพันธ์ระหว่างคอง 14 กับทศพิธราชธรรม ซึ่งเป็นหลักธรรมทางพระพุทธศาสนาซึ่งจากการศึกษาความเป็นมาของคอง 14 ซึ่งเป็นจารีตประเพณีของชาวอีสานโบราณ  โดยเฉพาะแนวทางการปฏิบัติของผู้ปกครอง และรูปแบบการปกครอง อิทธิพลของพระพุทธศาสนาที่มีต่ออีสานโบราณพบว่า พระพุทธศาสนามีบทบาทสำคัญต่อการสร้างความเจริญเติบโตในทุกๆ ด้าน โดยเฉพาะอย่างด้านการเมืองการปกครอง ที่กษัตริย์ได้นำเอาหลักธรรมหลักธรรมคำสั่งสอน มาเป็นรากฐานในการบริหารและกำหนดควบคุมคนในสังคมอีสานโบราณที่มีความแตกต่างของเชื้อชาติ วัฒนธรรมประเพณี ให้รวมเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน โดยใช้รูปแบบ วิธีการและหลักการปฏิบัติมาจากพระธรรมวินัย ผู้ปกครองใช้พระพุทธศาสนาเป็นตัวเชื่อมความสัมพันธ์ระหว่างผู้ปกครองและผู้ที่ถูกปกครอง ผู้ปกครองปฏิบัติตัวให้อยู่ในศีลธรรม ใช้หลักธรรมมาเป็นหลักปฏิบัติและอ้างความชอบธรรมในอำนาจ  มีการใช้จารีตประเพณีและกฎระเบียบต่างๆ กำหนดหน้าที่และวิถีชีวิตของคนในสังคมไว้อย่างชัดเจน

References

กรมวรรณคดีลาว. (2513). พื้นขุนบรมราชาธิราช (ฉบับโบราณแท้). เวียงจันทร์ : กรมวรรณคดี.

จรัส พยัคฆราชศักดิ์. (2534). อีสาน 1 ศาสนาและวรรณกรรมนิยมในท้องถิ่น. กรุงเทพฯ : โอ.เอส.พริ้นติ้ง เฮ้าส์.

เติม วิพากษ์พจนกิจ. (2530). ประวัติศาสตร์ลาว. กรุงเทพฯ : มูลนิธิโครงการการตำราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์.

ทรงคุณ จันทจร. (2548). รายงานการศึกษาเปรียบเทียบพัฒนาการจัดการศึกษาและศาสนาเพื่อความร่วมมือในการพัฒนารูปแบบ และกระบวนการศึกษาและศาสนาระหว่างไทย-ลาว. ทุนอุดหนุนการวิจัยจากสำนักวิชาการ และมาตรฐานการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ ปีงบประมาณ 2548.

แปลก สนธิรักษ์. (2514). ระเบียบสังคม ประเพณี วัฒนธรรม ศาสนา. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว

ปิยฉัตร์ สินธุสะอาด. (2540). “สังคมล้านช้างตั้งแต่ปลายพุทธศตวรรษที่ 21 ถึงต้นพุทธศตวรรษที่ 23”. วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต, บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

พระธรรมปิฎก (ป.อ. ปยุตโต). (2548). พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม, พิมพ์ครั้งที่ 13. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์บริษัทอาร์ เอส พริ้นติ้งแมส โปรดักส์ จำกัด.

พระมหาดาวสยาม วชิรปญฺโญ. (2545). พระพุทธศาสนาในลาว. เชียงใหม่ : มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตเชียงใหม่.

พระดำรง พ.ธรรมิกมุนี. (2553). พระพุทธศาสนาในประเทศลาว. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์สุขภาพใจ.

พระสมศักดิ์ ปิยธมฺโม (อินทเสน). (2554). “อิทธิพลของพระพุทธศาสนา ที่มีต่อสังคมลาวในแขวงจำปาสักสาธารณะรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว”. วิทยานิพนธ์ปริญญาพุทธศาสตรมหาบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

พระครูสุเทพสารคุณ และคณะ. (2544). มรดกไทอีสาน. ขอนแก่น : บริษัทขอนแก่นคลังนานาธรรม.

พุทธทาสภิกขุ. (2531). ธรรมบรรยายชุดทศพิธราชธรรม, กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์สหมิตร.

มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2539). พระไตรปิฎกภาษาไทยฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

มหาคำจำปา แก้วมณี และคณะ. (2539). ประวัติศาสตร์ลาว. แปลโดย สุวิทย์ ธีรศาศวัต. ขอนแก่น : มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

มานิตย์ จุมปา. (2548). “สังคมและความประพฤติ” ใน ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับกฎหมาย. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

วัชรา คลายนาทร และคณะ. (2533). สังคมศึกษา. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์วัฒนาพานิช.

โสภี อุ่นทะยา. (2551). กฎหมายโบราณลาว : สังคมลาวปี ค.ศ.1353-1695. วิทยานิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

สิริวัฒน์ คำวันสา. (2512). อีสานคดี. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ไพศาลศิริ.

Maha Khamyad Rasdavong. (2006). The History of Buddhism in Laos. Vientiane : Xangkhoung Printing.

Evans, Grant. (1999). Laos Culture and Society, Bangkok : O.s.Printing House.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

30-12-2020