พุทธจริยธรรมสำหรับผู้นำทางการเมือง

ผู้แต่ง

  • พระครูโสภณสุตากร (ณัฏฐ์ณภัทร ฆ้องพาหุ) วิทยาลัยสงฆ์ชัยภูมิ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
  • พระมหานรินทร์ สุรปญฺโญ วิทยาลัยสงฆ์ชัยภูมิ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
  • กาญจนพงศ์ สุวรรณ วิทยาลัยสงฆ์ชัยภูมิ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

คำสำคัญ:

พุทธจริยธรรม, ผู้นำ, การเมือง

บทคัดย่อ

ในปัจจุบันนี้สังคมไทยกลายเป็นสังคมนิยมวัตถุทำให้คนเห็นห่างจากหลักพุทธธรรมไปต่างคนต่าง     มุ่งแต่จะแสวงหาประโยชน์ตามการเปลี่ยนแปลงไปของกระแสโลกโดยมิได้คำนึกถึงคุณธรรมจริยธรรม ผู้นำทางการเมืองจึงถือเป็นสิ่งหนึ่งที่มีความสำคัญต่อการพัฒนาการเมือง เพราะหากผู้นำทางการเมืองขาดซึ่งคุณธรรมและจริยธรรมทางการเมืองแล้วก็มักจะก่อปัญหาผลประโยชน์ทับซ้อนในรูปแบบต่าง ๆ

 หลักพุทธจริยธรรมสำหรับผู้นำทางการเมืองเป็นแนวทางหนึ่งที่สามารถนำมาแก้ปัญหาจริยาธรรมสำหรับผู้นำทางการเมืองได้เป็นอย่างดีเนื่องจากเป็นหลักธรรมสำหรับผู้นำทางการเมืองโดยเฉพาะ ในบทความนี้ผู้เขียนจึงขอนำเสนอประเด่นสำคัญดังต่อไปนี้คือความหมายของพุทธจริยธรรมสำหรับผู้นำทางการเมือง การเกิดของพุทธจริยธรรมสำหรับผู้นำทางการเมือง การปลูกฝังพุทธจริยธรรมสำหรับผู้นำทางการเมือง และหลักพุทธจริยธรรมสำหรับผู้นำทางการเมือง

References

ฐิติมา จำปารัตน์. (2533). ความสัมพันธ์ระหว่างการใช้เหตุผลเชิงจริยธรรมกับพฤติกรรมเชิง

จริยธรรมของนักศึกษาพยาบาลในเขตกรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตร

มหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล.

ดวงเดือน พันธุมนาวิน. (2524). พฤติกรรมศาสตรเลม 2 : จิตวิทยาจริยธรรมและจิตวิทยาภาษา.

กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์ไทยวัฒนาพานิชจำกัด.

ประภาศรี สีหอำไพ. (2540). พื้นฐานการศึกษาทางศาสนาและจริยธรรม. กรุงเทพฯ :

สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

พระราชวรมุนี (ประยุทธ์ ปยุตฺโต). (2523). จริยธรรม. แนวทางการพัฒนาจริยธรรมการประชุมเชิง

วิชาการเกี่ยวกับจริยธรรม กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ.

พระเมธีธรรมาภรณ์ (ประยูร ธมฺมจิตโต). (2541). คุณธรรมสำหรับนักบริหาร. กรุงเทพฯ :

มูลนิธิพุทธธรรม.

พระประมวล อุตฺตราสโย. (2544). เปรียบเทียบจริยศาสตร์. กรุงเทพฯ : เฉลิมมงคล.

พระไพศาล วิสาโล. (2546). พระพุทธศาสนาไทยในอนาคตแนวโน้นและทางออกจากวิกฤติ.

กรุงเทพฯ : มูลนิธิสดศรี-สฤษดิ์วงศ์.

เฟรด อี. ฟีดเลอร์, มาร์ติน เอ็ม เซเมอรส์ และ ลินดา มาฮาร์. (2531). ค้นหาความเป็นผู้นำ. เรียบ

เรียงโดย ชูชัย สมิทธิไกร. กรุงเทพฯ : ซีเอ็ดยูเคชั่น.

ภาควิชาปรัชญาและศาสนา. (2551). เอกสารประกอบการสอนรายวิชาจริยธรรมและทักษะชีวิต. นครปฐม : มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม.

มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2539). พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

มนตรี พีรพลพิพัฒน์. (2540). จริยธรรมกับภาวะผู้นำ : ศึกษาทัศนะนักวิชาการรัฐศาสตร์ใน

มหาวิทยาลัยแห่งประเทศที่มีต่อผู้นำทางการเมือง. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต.

บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล.

ศิลาวัฒน์ ชัยวงศ์. (2561). จริยธรรมของนักการเมืองในระบบการเมืองไทย. วารสารสังคมศาสตร์ปริทรรศน์. ฉบับที่ 1 ปีที่ 6 : มกราคม-มิถุนายน.

สุภัททา ปิณฑะแพทย์. (2550). พฤติกรรมมนุษย์กับการพัฒนาตน. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์

มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา.

สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน. (2553). การสร้างเครื่องมือประเมินเพื่อพัฒนา

คุณธรรมจริยธรรมและความโปร่งใสขององค์กร. กรุงเทพฯ :

บริษัท ดี.เค.ปริ้นติ้งเวิลด์จำกัด.

อรุณศรี อึ้งประเสริฐ. (2533). การนำเสนอรูปแบบการสอดแทรกความรู้ด้านจริยธรรมในการเรียนการสอนคณิตศาสตร์ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

24-06-2021