การพัฒนาชุดการเรียนรู้ภาษาบาลีเบื้องต้นด้วยอักษรไทย-โรมัน
คำสำคัญ:
การพัฒนา, ชุดการเรียนรู, ภาษาบาลี, อักษรไทย-อักษรโรมันบทคัดย่อ
บทความวิจัย “การพัฒนาชุดการเรียนรู้ภาษาบาลีเบื้องต้นด้วยอักษรไทย-โรมัน”นี้มีวัตถุประสงค์ 3 ข้อ คือ 1) เพื่อศึกษาพัฒนาชุดการเรียนรูภาษาบาลีเบื้องตนดวยอักษรไทย-โรมัน 2) หาประสิทธิภาพชุดการเรียนรูภาษาบาลีเบื้องตนดวยอักษรไทย-โรมัน ใหมีประสิทธิภาพตามเกณฑ 80/80 3) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกอนและหลังจากการเรียนดวยชุดการเรียนรูภาษาบาลีเบื้องตนดวยอักษรไทย-โรมัน และ 4) ศึกษาความพึงพอใจของผูเรียนหลังจากการเรียนดวยชุดการเรียนรูภาษาบาลีเบื้องตนดวยอักษรไทย-โรมัน กลุมตัวอยางที่ใชในการวิจัย ไดแกพระนิสิต ปริญญาตรีชั้นปที่ 1 วิทยาลัยสงฆสุพรรณบุรีศรีสุวรรณภูมิ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย จังหวัดสุพรรณบุรี จํานวน 15 รูป ไดมาดวยวิธีการสุมแบบกลุม ผลการวิจัย พบวา ผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนของพระนิสิตปริญญาตรีปที่ 1 คะแนนเฉลี่ยหลังเรียนสูงกวาคะแนนเฉลี่ยกอนเรียนอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ.05 และ4) ผลการวัดระดับความพึงพอใจของพระนิสิตในการเรียนดวยชุดการเรียนรูภาษาบาลีเบื้องตนดวยอักษรไทย/โรมัน อยูในระดับมาก เฉลี่ย 4.14 คาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เทากับ 0.11
References
กาญจนา เกียรติประวัติ. (2523). การวิเคราะหปฏิสัมพันธ์ในนวัตกรรมทางการศึกษา. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
กระทรวงศึกษาธิการ. (2551). เอกสารแนวทางการบริหารจัดการหลักสูตร. สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน.
กัลยวรรธน ฉันทจิตปรีชา. (2560). การพัฒนาชุดการสอนเรื่องการสรางคาในภาษาไทยสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1. ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน คณะครุศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค, รายงานสืบเนื่องจาก การประชุมวิชาการ ระดับนานาชาติ ครั้งที่ 4 สถาบันวิจัย มหาวิทยาลัยราชภัฏกําแพงเพชร.
ชัยยงค พรหมวงศ. (2523). เอกสารการสอนชุดวิชาเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา เรื่อง กระบวนการสันนิเวศวิทยาการและระบบสื่อการสอน. นนทบุรี : มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
พระมหาอภิพงค ภูริวฑฺฒโน (คําหงษา) และคณะ. (2561). การพัฒนาชุดการเรียนรู เรื่อง หลักธรรมในวันสําคัญทางพระพุทธศาสนาเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 โรงเรียนวัดโสธรวรารามวรวิหาร อําเภอเมือง จังหวัดฉะเชิงเทรา. วารสารครุศาสตรปริทรรศนฯ ปที่ 5 ฉบับที่ 1 มกราคม - เมษายน 2561.
ราชบัณฑิตยสถาน. (2542). ประกาศราชบัณฑิตยสถาน เรื่อง หลักเกณฑการถายทอดเสียงอักษรไทย เปนอักษรโรมันแบบถายเสียง. กรุงเทพฯ.
ศนิชา อิงพลังษีกุล. (2547). ลักษณะการใชภาษาคาราโอเกะและทัศนคติตอการใชภาษาคาราโอเกะ. วิทยานิพนธมหาบัณฑิต คณะมนุษยศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร.
เสนีย ปราโมช, ม.ร.ว. (2517). ศิลาจารึกพอขุนรามคําแหง. กรุงเทพฯ : ศิริมิตรการพิมพ ปาฐกถาแสดงที่สมาคมครูโรงเรียนราษฎร ณ หอประชุมคุรุสภา เมื่อวันที่ 25 ธันวาคม 2508.
สุธิวงศ พงศไพบูลย. (2526). บาลี-สันสกฤตที่สัมพันธกับภาษาไทย. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ ไทยวัฒนาพานิช จํากัด.
สุภาพร มากแจง. (2535). ภาษาบาลี – สันสกฤตในภาษาไทย. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพโอเดียนสโตร พิมพครั้งที่ 2.
Frankfurter, O. (1906). “Some Suggestion for Romanizing Siamese.”Journal of the Siam Society.
Griswold A.B. (1960). “Afterthoughts on the Romanization of Siamese.” Journal of the Siam Society.
Petithuguenin, P. (1912). "Method for Romanizing Siamese." Journal of the Siam Society.
Vajiravudh, King. (1912). “The Romanization of Siamese Word.” Journal of the Siam Society.