อัตลักษณ์พระอรหันต์ในพุทธปรัชญา
คำสำคัญ:
พระอรหันต์, พุทธปรัชญา, อัตลักษณ์บทคัดย่อ
พระอรหันต์ในพุทธปรัชญา คือ มนุษย์ผู้ฝึกตนตามกระบวนการพุทธปรัชญาสามารถเข้าถึงเป้าหมายสูงสุดคือนิพพาน ตามทัศนะทางพุทธปรัชญาเถรวาทกล่าวถึงพระอรหันต์ คือ ผู้อยู่เหนืออำนาจของกิเลส ผู้บริสุทธิ์ ผู้รู้ตื่น แต่ในทัศนะของพุทธปรัชญามหายาน พระอรหันต์ไม่จำเป็นต้องหลุดพ้นจากกิเลส แต่ยังมีความสงสัย แล้วยังเป็นผู้ที่ต้องฝึกตนเองเพื่อตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้า ด้วยเหตุนั้น อัตลักษณ์ของพระอรหันต์ตามทัศนะของพุทธปรัชญาเถรวาท จึงหมายถึง ผู้ที่ไม่ยึดถือขันธ์ 5 ว่ามีตัวตนเป็นเขาเป็นเรา ส่วนอัตลักษณ์ของพระอรหันต์ตามทัศนะของพุทธปรัชญามหายาน หมายถึง ผู้เข้าถึงธรรมแต่ไม่ถึงขั้นหลุดพ้นจากสังสารจักรนี้ อัตลักษณ์ของพระอรหันต์ทางพุทธปรัชญามหายาน ไม่ได้ให้ความสำคัญต่อพระอรหันต์มากนัก แต่เน้นการเป็นพระโพธิสัตว์มากกว่า เพื่อตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้า
References
พุทธทาสภิกขุ. (2549). ตามรอยพระอรหันต์. กรุงเทพฯ: ธรรมทานมูลนิธิ และธรรมสภา.
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต). (2551). พจนานุกรมพุทธศาสตน์ ฉบับประมวลศัพท์. พิมพ์ครั้งที่ 11.กรุงเทพฯ: บริษัท เอส.อาร์.พริ้นติ้ง แมส โปรดักส์ จำกัด.
พระมหาสมจินต์ สมฺมาปญฺโญ. (2548). พระพุทธศาสนามหายานในอินเดียพัฒนาการและสารัตถธรรม. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2539). พระไตรปิฏกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรราชวิทยาลัย. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
มหามกุฏราชวิทยาลัย. (2535). ปฐมสมันตปาสาทิกา แปล ภาค 1. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหามกุฏราชวิทยาลัย.
วิจิตร เกิดวิศิษฐ์. (2524). คนในทรรศนะของพุทธศาสนา, ใน คนในทรรศนะของพุทธศาสนา อิสลามและคริสตศาสนา. โดย เสรี พงศ์พิศ และคนอื่นๆ. กรุงเทพฯ: สภาคาทอลิกแห่งประเทศไทย.
วศิน อินทสระ. (ม.ป.ป.). สาระสำคัญแห่งพุทธปรัชญามหายาน. กรุงเทพฯ:บรรณาคารเวิ้งนาครเขษม.
สุมาลี มหณรงค์ชัย. (2547). พระนาคารชุนะกับคำสอนว่าด้วยทางสากลาง. กรุงเทพฯ: ศยาม.
สุมาลี มหณรงค์ชัย. (2550). พุทธศาสนามหายาน ฉบับปรับปรุงแก้ใข. กรุงเทพฯ: ศยาม.
สุรพล เพชรศร. (2543). สาระสำคัญแห่งสัทธรรมปุณฑริกสูตร. กรุงเทพฯ: กลุ่มศึกษาสัทธรรมปุณฑริกสูตร.
สมบูรณ์ ตาสนธิ, ผศ.พิเศษ. (2555). พระอรหันตสาวกบรรลุธรรมได้อย่างไร. นนทบุรี: ธิงค์ บียอนด์ บุ๊คส์.
สมภาร พรมทา, รศ.ดร. (2549). กาลและอวกาศในพุทธปรัชญาเถรวาท, วิทยานิพนธ์ปริญญาอักษรศาสตร์มหาบัณฑิต, (ภาควิชา ปรัชญา บัณฑิตวิทยาลัย: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2531,
อภิญญา เฟื่องฟูสกุล. (2546). อัตลักษณ์:การทบทวนทฤษฎีและกรอบแนวคิด Identit. กรุงเทพฯ:คณะกรรมการสภาวิจัยแห่งชาติ สาขาสังคมวิทยา สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ.
อู่ทอง โฆวินทะ, ดร. และอุกฤษฏ์ แพทน้อย. (2556). แปลจาก 50 เรื่องจากความไม่เป็นเรื่อง (50 Philosophy ldeas You Really Need to Know). กรุงเทพฯ: อมรินทร์.
สมเด็จพระญาณวโรดม มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย. http://www.yanavarodom.mbu.ac.th /index.php?option=com_content&tas.
ทิดกร สอนภาษา. (2551). ภาษาไทย ขัดใจปู่ : เอกลักษณ์-อัตลักษณ์. ฉบับที่ 445วันที่ 23มิ.ย. 2008. http://www.nationejobs.com/citylife/content.php?ContentID=1451.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2022 พุทธมัคค์
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.