เหตุผลในการดำรงอยู่ของรัฐธรรมนูญ
คำสำคัญ:
รัฐธรรมนูญ, สังคม, กฎหมาย, ปรัชญาบทคัดย่อ
บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา “เหตุผลในการดำรงอยู่ของรัฐธรรมนูญ” พบว่า เหตุผลในการดำรงอยู่ของรัฐธรรมนูญได้รับอิทธิพลมาจากแนวคิดทางปรัชญาในอดีตมากน้อยเพียงใด และจากการศึกษาพบว่าเกี่ยวกับประเด็นนี้ แนวคิดทางปรัชญาตะวันตกและแนวคิดทางพุทธปรัชญาต่างก็มีความสอดคล้องกันว่า การดำรงอยู่ร่วมกันเป็นสังคมของมนุษย์อย่างสงบนั้นไม่ได้เป็นสภาวะที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติ แต่ความสงบสันติของสังคมมนุษย์เป็นสภาวะที่เกิดจากการตกลงกันให้สถาปนาจัดตั้งองค์กรทางการปกครองขึ้น ในแง่นี้เองรัฐธรรมนูญซึ่งเป็นกฎหมายที่ว่าด้วยการกำหนดอำนาจสูงสุดเกี่ยวกับระบอบการปกครองของรัฐสมัยใหม่ จึงเป็นผลผลิตของแนวคิดทางปรัชญาดังกล่าวข้างต้น ในฐานะที่เป็นข้อตกลงในการอยู่ร่วมกันอย่างสันติของมนุษย์ในยุคสมัยปัจจุบัน
References
บุญศรี มีวงศ์อุโฆษ. (2552). กฎหมายรัฐธรรมนูญ. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์หาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
ปรีดี เกษมทรัพย์. (2553). นิติปรัชญา. พิมพ์ครั้งที่ 11. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์เดือนตุลา.
วิชา มหาคุณ. (2553). อำนาจบริหารและอานาจตุลาการ: ความมั่นคงของชาติและหลักนิติธรรมในนิติรัฐ นิติธรรม. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
วรเจตน์ ภาคีรัตน์. (2561). ประวัติศาสตร์ความคิดนิติปรัชญา. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์อ่านกฎหมาย.
สมยศ เชื้อไทย. (2554). ทฤษฎีกฎหมาย นิติปรัชญา. พิมพ์ครั้งที่ 14. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์วิญญูชน.
อมร จันทรสมบูรณ์. (2537). คอรสติติวชั่นแนลลิสม์ (Constitutionalism): ทางออกของประเทศไทย. กรุงเทพฯ: สถาบันนโยบายศึกษา มูลนิธิคอนราด อเดนาวร์.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2022 พุทธมัคค์
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.