กลยุทธ์ธุรกิจที่ส่งผลต่อคุณภาพและประสิทธิภาพในการให้บริการ
Main Article Content
บทคัดย่อ
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1. เพื่อวิเคราะห์ความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ของรูปแบบเชิงสมมติฐานของความสัมพันธ์ระหว่างกลยุทธ์การแข่งขัน ส่วนประสมทางการตลาด และคุณภาพการให้บริการ ที่มีอิทธิพลต่อการเพิ่มคุณภาพและประสิทธิภาพในการให้บริการ 2. เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลทางตรง และ ทางอ้อม ต่อคุณภาพและประสิทธิภาพในการให้บริการ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยในครั้งนี้ ได้ขนาดกลุ่มตัวอย่างที่ 380 ตัวอย่าง ผู้วิจัยได้ทำการพิจารณาถึงขนาดของกลุ่มตัวอย่างที่มีความเหมาะสมกับการวิเคราะห์ข้อมูล และวิเคราะห์ด้วยสมการโครงสร้าง ซึ่งผู้วิจัยใช้วิธีการกำหนดกลุ่มตัวอย่างตามกฎแห่งความชัดเจน
ผลการศึกษาพบว่า กลยุทธ์การแข่งขัน มีอิทธิพลในเชิงบวกต่อคุณภาพการให้บริการ ส่วนประสมทางการตลาดมีอิทธิพลในเชิงบวกต่อประสิทธิภาพ คุณภาพการให้บริการมีอิทธิพลในเชิงบวกต่อประสิทธิภาพ กลยุทธ์การแข่งขันมีอิทธิพลในเชิงบวกต่อประสิทธิภาพ และส่วนประสมทางการตลาดมีอิทธิพลในเชิงบวกต่อคุณภาพการให้บริการ
Article Details

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
References
กัลยารัตน์ ธีรธนชัยกุล. (2564). การเป็นผู้ประกอบการสมัยใหม่. กรุงเทพมหานคร: ซีเอ็ดยูเคชั่น.
กิรติพงษ์ ปัญญาเรือง. (2559). กลยุทธ์ความได้เปรียบในการแข่งขันที่มีต่อผลความสาเร็จในการดาเนินงานตามแนวคิด Balance Scorecard ของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแปรรูปอาหารของจังหวัดสุพรรณบุรี. บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยศิลปากร.
ธัมมะทินนา ศรีสุพรรณ สุจินดา เจียมศรีพงษ และชาตรี ปรีดาอนันทสุข. (2557). องค์ประกอบของตัวแบบธุรกิจที่ส่งผลต่อความสำเร็จในการดำเนินงานของธุรกิจซอฟต์แวร์ในประเทศไทย.วารสารวิทยาการจัดการสมัยใหม่ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง, 7(1), 65-75.
เบญจมาส เปาะทอ. (2564). แนวคิดตัวชี้วัดแบบสมดุลกับปัจจัยความสามารถทางการแข่งขันของผู้ประกอบการในประเทศไทย. วารสารวิทยาการจัดการปริทัศน์, 23(1), 243-256.
ภาวิณี ทองแย้. (2560). ความส าคัญของคุณภาพการบริการต่อความส าเร็จของธุรกิจ. วารสารเกษมบัณฑิต, 18(1). 219-232.
วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (สสว.). (2564). จำนวนผู้ประกอบการรายอุตสาหกรรม. สืบค้นเมื่อ 25 พฤษภาคม 2565 จาก https://app.powerbi.com/view?r=eyJrIjoiYjM4YTg5 MjMtMTgxNy00NjcyLThlN2MtYjc0MDVlM2QzMmEwIiwidCI6ImExZmZjMjhhLTEzZmMtNDhiMC05NGRmLWYyYWIyOGUwNWNhNSIsImMiOjEwfQ==
สุดารัตน์ พิมลรัตนกานต์. (2560). การเป็นผู้ประกอบการ. กรุงเทพมหานคร: ซีเอ็ดยูเคชั่น.
อำพล นววงศ์เสถียร. (2562). การจัดการเชิงกลยุทธ์. กรุงเทพมหานคร: วิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก
Best, J.W., & Kahn, J.V. (1986). Research in education. (5th ed). New Jersey: Prentice-Hall.
Kaplan, R.S. and Norton, D. P. (1996). The Balanced Scorecard: Translating Strategy into Action. Boston: Havard Business School.
Kotler, P. & Keller K. L. (2016). Marketing Management. (15th global edition) Edinburgh: Pearson Education.
Kotler. P. (2546). การจัดการการตลาด (แปลจาก Marketing Management โดยธนวรรณแสงสุวรรณ อิลล่า พงศ์ยี หล้า อุไรวรรณ แย้มนิยม ยุทธนา ธรรมเจริญ และ ยงยุทธ ฟูพงศ์ศิริพันธ์). พิมพ์ครังที 1. กรุงเทพฯ: เพียร์สัน เอดดูเคชัน อินโดไชน่า.
Porter, M.E. & Heppelmann, J.E. (2014). How Smart, Connected Products are Transforming Competition. Harvard Business Review. 2014, 65–88.
Woodside, A. G., Lisa, L. F. and Robert, T. D. (1989). Linking Service Quality, Customer Satisfaction, and Behavioral Intention, Journal of Health Care Marketing, 9(12), 5-17.