การพัฒนารูปแบบการสอนที่เน้นบูรณาการภูมิปัญญาท้องถิ่น กับการจัดการเรียนรู้ทัศนศิลป์ ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น

Main Article Content

Puvasa Ruangchewin

บทคัดย่อ

การวจิยัครงั้นมี้วีตัถปุระสงค ์1) เพอื่ศกึษาภมูปิญัญาทอ้งถนิ่ทสี่�าคญัของไทยทเี่หมาะสมใน การน�ามาใชใ้นการจดัการเรยีนร ู้ 2) เพอ่ืพฒันารปูแบบการสอนทเี่นน้บรูณาการ และ 3) ศกึษาผลการ ใชร้ ปู แบบการสอนไปใชใ้ นการจดั การเรยี นรทู้ ศั นศลิ ป ์ ระดบั ชนั้ มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ การวเิคราะห์ ขอ้มลูเบอื้งตน้ทไี่ดจ้ากแบบสอบถามเชงิส�ารวจ  โดยใชค้า่ความถ ี่คา่รอ้ยละ คา่เฉลยี่ (x̅) สว่นเบย่ีงเบน มาตรฐาน (S.D.) ไดข้อ้มลู ภมูปิญัญาทอ้งถน่ิและการจดัการสอนจากกลมุ่ตวัอยา่งครทูศันศลิป ์จ�านวน 121 คน ในโรงเรยีนสงักดั ส�านกังานคณะกรรมการการศกึษาขนั้พนื้ฐาน (สพฐ.) ทวั่ประเทศ น�ามา พฒันาตามรปูแบบการสอนของกาเย ่(Robert Gagne’) ดา้นการน�าเสนอเนอื้หาใหม ่บรูณาการเปน็ชดุ การสอนภมูปิญัญาทอ้งถนิ่ น�ามาทดลองเครอื่งมอืกบักลมุ่ตวัอยา่ง คอื นกัเรยีนระดบัชนั้มธัยมศกึษาปี ท ี่1-2 และ 3 ภาคปลาย ปกีารศกึษา 2558 จ�านวน 382 คน จาก 6 โรงเรยีน วเิคราะหข์อ้มลูหลงัการใช้ ชดุการสอน จากแบบสอบถามและแบบทดสอบ รวมถงึวเิคราะหข์อ้มลูผลสมัฤทธทิ์างการเรยีน  กอ่น เรยีนและหลงัเรยีน โดยใช ้paired sample t-test และวเิคราะหข์อ้มลูผลการประเมนิความพงึพอใจโดย ใชค้า่เฉลยี่ (x̅) และสว่นเบยี่งเบนมาตรฐาน (S.D.)   ผลการวิจัยพบว่า ภูมิปัญญาท้องถิ่นที่ส�าคัญของไทยด้านทัศนศิลป์ ที่เหมาะสมในการน�า มาใช้ในการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนการสอนทั้ง 6 ภาค โดยภาคเหนือ ได้แก่ ร่มกระดาษสา ภาคกลาง ได้แก่ ตุ๊กตาชาววัง ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ได้แก่ ผ้าไหมมัดหมี่ ภาค ตะวันออก ได้แก่ ครกหิน ภาคตะวันตก ได้แก่ เครื่องประดับจากนิล ภาคใต้ ได้แก่ ผลิตภัณฑ์จากผ้า บาติก และกรุงเทพฯ ได้แก่ หุ่นกระบอกไทย จากนั้นน�าไปสร้างชุดการสอนและน�าไปจัดการเรียน การสอนพบว่า ครูส่วนใหญ่เห็นด้วยอยู่ในระดับมาก โดยหัวข้อการให้นักเรียนได้เรียนรู้เกี่ยวกับ ภูมิปัญญาท้องถิ่น มีส่วนช่วยในการสืบทอดทางวัฒนธรรม อยู่ในระดับมากที่สุด  ส่วนความคิดเห็น ของนักเรียนด้านการรับรู้ด้านคุณค่าและสุนทรียะเกี่ยวกับภูมิปัญญาท้องถิ่นพบว่า ก่อนเรียนและ หลังเรียนมีการรับรู้อยู่ในระดับมากเช่นเดียวกัน โดยหัวข้อภูมิปัญญาท้องถิ่นของไทยเป็นเรื่องที่คน ไทยควรภาคภูมิใจ ก่อนเรียนและหลังเรียนอยู่ในระดับมากที่สุด ส่วนการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ จากการท�าแบบทดสอบก่อนและหลังเรียนหลังใช้ชุดการสอน พบว่ามีคะแนนหลังสอบเพิ่มขึ้นอย่าง มีนัยส�าคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ส่วนความคิดเห็นของครูผู้ใช้ชุดการสอนพบว่า มีความพึงพอใจต่อ ชุดการสอนอยู่ในระดับมากที่สุด

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

กระทรวงศึกษาธิการ. (2544). หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544. กรุงเทพฯ : องค์การรับส่งสินค้าและพัสดุภัณฑ์. กระทรวงศึกษาธิการ. (2553). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ. โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จ�ากัด. คณะกรรมการส�านักงานการศึกษาแห่งชาติ. (2541). แนวทางการส่งเสริมภูมิปัญญาไทยในการจัด การศึกษา. กรุงเทพฯ: ส�านักงานการศึกษาแห่งชาติ. คณะกรรมการวฒันธรรมแหง่ชาต.ิ ส�านกังาน. (2534). ภมูปิญัญาชาวบา้น.กรงุเทพฯ: ครุสุภาลาดพรา้ว. นันทสาร สีสลับ และคณะ. (2541). แนวทางส่งเสริมภูมิปัญญาไทยในการจัดการศึกษา. กรุงเทพฯ รุ่ง แก้วแดง. (2542). ปฏิวัติการศึกษาไทย. กรุงเทพมหานคร : มติชน. วิรุณ ตั้งเจริญ. (2539). ศิลปศึกษา. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์. ส�านักงานเลขาธิการสภา. (2553). แผนการศึกษาแห่งชาติ ฉบับปรับปรุง (พ.ศ. 2552-2559) ฉบับสรุป/การศึกษา. กรุงเทพฯ: ส�านักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. สันติสุข กฤดากร, ม.ล. (2541). การศึกษาการถ่ายทอดภูมิปัญญาชาวบ้านด้านศิลปวัฒนธรรม พื้นบ้าน อ�าเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร. สุมน อมรวิวัฒน์ และคณะ. (2538). ความคิดและภูมิปัญญาไทยด้านการศึกษา. (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ: ส�านักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์. เอกวทิย ์ณ ถลาง. (2544). หนงัสอืชดุ ภมูปิญัญาชาวบา้นกบักระบวนการเรยีนรแู้ละการปรบัตวัของ ชาวบา้นไทย ภาพรวมภมูปิญัญาไทย. กรงุเทพฯ: อมรนิทรพ์รนิ้ตงิ้แอนดพ์บัลชิชงิ่ จ�ากดั มหาชน. Gagne, Robert M. (1970). The Condition of Learning. 2d.ed. New York: Holt Rinchart and Winston. Joyce, B, & Weil, M. and Showers, B. (1992). Model of teaching. 4th ed. Boston : Allyn and Bacon : A Divison of Simon & Schuster, Inc.