การเปรียบเทียบลวดลายพรรณพฤกษาเครื่องเคลือบดินเผาไทย และจีนในคริสตศตวรรษที่ 15 – 16 ในพื้นที่เตาเผาภาคเหนือของประเทศไทย

Main Article Content

Wu Wenke

บทคัดย่อ

เครื่องเคลือบดินเผาของไทยในคริสต์ศตวรรษที่ 15 – 16 มีความสัมพันธ์การเชื่อมโยงใน เชิงวัฒนธรรมระหว่างไทย และจีน ด้วยรูปทรงที่มีลักษณะเฉพาะ จากข้อสันนิษฐานของผู้เขียนสาม ประการ  คือ 1)ข้อได้เปรียบจากการแลกเปลี่ยนวัฒนธรรมของประเทศเพื่อนบ้านรวมทั้งประเทศจีน ผ่านทางเครื่องเคลือบดินเผาที่แสดงถึงความเจริญรุ่งเรืองและการพัฒนา 2) สังคมไทยมีการตอบรับ ตอ่วฒันธรรมตา่งชาตริวมทงั้การผสมผสานของวฒันธรรมพนื้เมอืงทอ้งถนิ่ตา่ง ๆ และ 3) สบืเนอื่งจาก นโยบายการห้ามติดต่อการค้าทางทะเลในสมัยราชวงศ์หมิง ประเทศไทยจึงมีโอกาสเริ่มเข้าสู่ กระบวนการค้ากับนานาชาติและสามารถเปิดตลาดการค้าด้านเครื่องเคลือบดินเผา ดังนั้นเครื่อง เคลือบดินเผาของประเทศไทยในช่วงเวลานั้น ไม่เพียงเป็นภาพสะท้อนถึงการผสมผสานจากการ แลกเปลี่ยนวัฒนธรรม ทั้งยังแสดงออกถึงก้าวแรกในด้านการค้าอีกด้วย    บทความนี้ เป็นการศึกษาเปรียบเทียบวัตถุเครื่องเคลือบดินเผาโบราณ และข้อมูลทางเอก สารจ�านวนมาก โดยน�าลวดลายพันธุ์พฤกษาของในยุคสมัยนั้น  มาวิเคราะห์เปรียบเทียบการสร้าง ลวดลายที่ปรากฎในเครื่องเคลือบดินเผาของไทยและจีน และได้สรุปสังเคราะห์ลักษณะเฉพาะของ ลวดลายพันธุ์พฤกษาของเครื่องเคลือบดินเผา รวมทั้งการศึกษาคุณค่าทางความงาม ทางสังคม และวัฒนธรรมของลวดลาย เพื่อเป็นข้อมูลพื้นฐานในการวิเคราะห์อิทธิพลของเครื่องเคลือบดินเผา จีนที่มีต่อเครื่องเคลือบดินเผาของไทย รวมทั้งศึกษาอัตลักษณ์พื้นถิ่นของวัฒนธรรมเครื่องเคลือบดิน เผาในไทยอีกด้วย

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

Alois Riegl. (2003).Problems of Style: Foundations for a History of Ornament Hunan Science And Technology Press Fu Donghua.(2016). The Historical Development Of Characteristic Analysis Of Traditional Chinese Decoration Patterns: The Cloud Pattern And Ruyi Pattern.Chinese Art. (03).123-125 Fu Yunxian. (2005). The Dissemination and Development of Chinese Ancient Ceramics and Baking Technique in Thailand —Taking Sukhothai and Sawankalok as Examples. Journal of Kunming Teachers College.27(1)
Roxanna M. Brown. (2009).Southeast Asian Ceramics Museum. Bangkok: Bangkok University Press Roxanna M.Brown.(2009). The Ming Gap and Shipwreck Ceramics in Southeast Asia. Bangkok: Siam Society. Tian Zibing. Wu Shusheng&Tian Qing.(2003). A History of Chinese Decorative Designs. Beijing: Higher Education Press Zhang Aidan. (2014). An Analysis on Evolution and Application of Chinese Traditional Plant Patterns. Journal of Silk.51(07).58-63 Zong Baihua.(2005). Walking Aesthetics. Shanghai People’s Publishing House Zhou Jueming,Huang Yunpeng&Chen Menglong.(1986).The Decorative Pattern Of Jingdezhen Ancient Ceramics. People‘s Fine Arts Publishing House.