อิทธิพลทางการค้าและการเผยแพร่เทคนิคผลงานเครื่องเคลือบดินเผาโบราณจีน ที่มีต่อการวิวัฒนาการของไทยในอดีต

Main Article Content

Ye Zhenglong

บทคัดย่อ

ในช่วงยุคที่เต็มไปด้วยการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจทั่วโลกจีน-ไทยได้ร่วมกันเสนอแผน ความร่วมมืออันเป็นผลประโยชน์ร่วมกันทั้งสองฝ่ายในแผนยุทธศาสตร์การพัฒนา “หนึ่งแถบ หนึ่ง เส้นทาง” และยุทธศาสตร์ “ไทยแลนด์ 4.0” เพื่อเป็นการสร้างความสัมพันธ์ทางความร่วมมือให้เป็น หนึ่งเดียวในด้านการสร้างความเชื่อใจในการเมือง การรวมตัวทางเศรษฐกิจและการยอมรับทาง วฒันธรรมรว่มกนั โดยภายใตช้ว่งเวลาการพฒันาทางวสิยัทศันข์องทงั้สองประเทศทมี่คีวามสอดคล้อง กัน ผู้เขียนจะท�าการวิจัยรวบรวมข้อมูลทางศิลปะเกี่ยวกับความสัมพันธ์ในการพัฒนาของเครื่อง เคลือบดินเผาระหว่างจีนและไทย พร้อมน�ามาท�าการเรียบเรียงข้อมูล นอกจากนี้จะท�าการอธิบาย โดยคร่าวถึงสภาพการณ์อิทธิพลของการค้าและการเผยแพร่เทคนิคผลงานเครื่องเคลือบดินเผาจีน โบราณที่มีต่อการพัฒนาเครื่องเคลือบดินเผาของไทยในอดีต  จากอิทธิพลทางอ้อมของราชวงศ์ถัง กับห้าราชวงศ์ไปสู่การเผยแพร่เทคโนโลยีที่ลึกซึ้งยิ่งขึ้นในช่วงราชวงศ์ซ่งและหยวน จากนั้นเปลี่ยน จากการแข่งขันในตลาดเป็นการค้าพึ่งพาระหว่างราชวงศ์หมิงและราชวงศ์ชิงก่อนไปสู่เส้นทางการ พัฒนาที่แตกต่าง โดยเป็นการศึกษาค้นคว้าและวิจัยภายใต้ยุคสมัยและภูมิหลังใหม่ถึงแนวทาง ความร่วมมือการพัฒนาระหว่างจีน-ไทยด้านอุตสาหกรรมเครื่องเคลือบดินเผาที่มีรูปแบบใหม่และ เป็นแบบเชิงลึกมากยิ่งขึ้น เพื่อให้เกิดการอ้างอิงทางประวัติศาสตร์ที่มีคุณค่า

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

ANNE HÅBU & DAWN F. ROONEY. (2013). Royal Porcelain from Siam: Unpacking the Ring Collection. Oslo: Hermes Academic Publishing and Bookshop. FENG X. M. (1980). The harvest of China’s ceramic archaeology in the past 30 years. \ Palace Museum Journal, (01), 6-30+53+103-104. FENG X. M. (1990). External Dissemination of Ancient Chinese Ceramics. Palace Museum
Journal, (02), 11-13+97-98. FENG X. M. (1987). Essays of Chinese Old Ceramics by Feng Xian Ming. Beijing: The Forbidden City Publishing House. FU Y. X. (2005). The Dissemination and Development of Chinese Ancient Ceramics and Baking Technique in Thailand——Taking Sukhotai and Sawankalok as \ Examples. Journal of Kunming University, 27(01), 23-24. FANG X. J. (2009). The research on the spread and influence of Chinese porcelain into Thailand. (M.A. Thesis. Xiamen: Xiamen University). John N. Miksic. (2009). Southeast Asian Ceramics: New Light on Old Pottery. Southeast Asian Ceramic Society, 78.
LI J. M. & LIAO D. K. (1995). History of Ancient Chinese Overseas Trade. Nanning: Guangxi People’s Publishing House. PAN C. F. (1991). Research on the Development and Relationship between Ancient Chinese Trade-wares and Southeast Asian Ceramics. Ceramic Studies Journal, 6(01), 4-10. PIMPRAPHAI BISALPUTRA. (2017). Ceramic Trade Between Early Qing China and Late Ayutthaya, 1644-1767. Journal of Siam Society, 105: 1-42. SUN G. Q. (1989). History of Ancient Chinese Navigation. Beijing: China Ocean Press. WANG G. Y. (2011). Some Understanding of Ancient Chinese Exported Porcelain. Palace Museum Journal, (03), 36-54+159. WANG X. B. (2015). Research on the development and relationship between ancient Chinese trade-wares and Southeast Asian ceramics. (Ph.D. Disseration. Yunnan: Yunnan University). YANG G. Z. (2002). Trade networks between southeast China and east Asia in the 16th century. Jianghai Academic Journal, (04): 13-21+206. YE Z. M. (2006). History of Chinese Pottery and Porcelain. Beijing: SDX Joint Publishing Company.