ฟื้นฟูเพลงลงสรงโทนสู่ห้องเรียนอนุรักษ์ทักษะเพลงเก่าแก่หายาก

Main Article Content

จันทนา คชประเสริฐ

บทคัดย่อ

เพลงลงสรงมีประวัติตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยามาจนถึงปัจจุบัน ใช้บรรเลงประกอบในพระราชพิธีจนกระทั้งนำเข้ามาใช้ในการประกอบการแสดง มีการพัฒนาจากเพลงบรรเลงจนเกิดเพลงร้องชื่อว่า เพลงลงสรงโทน เพลงลงสรงโทนเป็นเพลงเฉพาะที่ใช้ประกอบกิริยาการแต่งตัว มีการใส่เครื่องประดับต่าง ๆ สื่อให้เห็นถึงความสวยงามของเครื่องแต่งกายของตัวละครเอกนั้น ๆ ลักษณะของการขับร้อง มีหน้าทับพิเศษประกอบจังหวะในการขับร้อง การขับร้องเป็นแบบต้นบท/ลูกคู่ มีลักษณะการขับร้องที่แตกต่างกัน โดยผู้ขับร้องต้นบทสามารถเลือกใช้กลวิธีในการขับร้องเพื่อให้เกิดความเหมาะสมต่อกระบวนท่ารำ ลูกคู่ต้อง ขับร้องให้มีความพร้อมเพรียงกันทั้งน้ำเสียง จังหวะของการขับร้อง และการหายใจ

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

กาญจนา นาคพันธ์. (2513). คอคิดขอเขียน. กรุงเทพฯ: บำรุงสาส์น.

กรมศิลปากร. (2532). วรรณกรรมสมัยกรุงธนบุรี. เล่ม 1. กรุงเทพฯ: บริษัทอมรินทร์พริ้นติ้งกรุ๊พจำกัด.

กรมศิลปากร. (2539). ประวัติศาสตร์แห่งพระราชอาณาจักรสยาม. กองวรรณกรรมและประวัติศาสตร์. กรุงเทพฯ: บริษัทเอดิสันเพรสโพรดักค์จำกัด.

กรมส่งเสริมวัฒนธรรม. (2559). พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษามรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม. กรุงเทพฯ: สำนักงานกิจการโรงพิมพ์องค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึก.

ศิลปวัฒนธรรม. (2562). ความหมายและนัยของพิธีสรงน้ำพระมุรธาภิเษก. สืบค้น 1 ตุลาคม 2565, จากhttps://www.silpa-mag.com/history/article_31945

ณรงค์ชัย ปิฎกรัชต์. (2557). สารานุกรมเพลงไทย. นครปฐม: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยมหิดล.

ดำรงราชานุภาพ, สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ. (ม.ป.ป.). สาส์นสมเด็จ เล่ม 1. พระนคร: องค์การค้าของคุรุสภา.

นพคุณ สุดประเสริฐ. หัวหน้าภาควิชาดุริยางคศิลป์ คณะนาฏศิลป์ สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์. (10 สิงหาคม 2565). สัมภาษณ์.

พัฒนี พร้อมสมบัติ. ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้านวิชาการละครและดนตรี สำนักการสังคีต กรมศิลปากร. (9 สิงหาคม 2565). สัมภาษณ์.

มนัส แก้วบูชา. อาจารย์ประจำคณะดุริยางคศาสตร์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี (10 กรกฎาคม 2565). สัมภาษณ์.

มนตรี ตราโมท. (2527). โสมส่องแสง : ชีวิตดนตรีไทยของมนตรี ตราโมท. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์เรือนแก้วการพิมพ์.

วิทยา ศรีผ่อง. (2563). ชุดฝึกการขับร้องเพลงไทยสำหรับพัฒนาศักยภาพของผู้ขับร้อง. รายงานวิจัยงบประมาณแผ่นดิน ประจำปีงบประมาณ 2563 สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์.

บุษกร สำโรงทอง. (2542). เพลงสำหรับการแสดง. เอกสารประกอบการศึกษารายวิชาเพลงสำหรับการแสดง บัณฑิตศึกษา ศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (ม.ป.พ.).

บทเจรจาละครอิเหนาและตำนานเรื่องละครอิเหนา. (2516). พิมพ์เป็นธรรมบรรณาการในงานฌาปณกิจศพคุณแม่ส้มจีน กาญจนวัฒน์ ณ ฌาปณสถาน วัดธาติทอง กรุงเทพมหานคร วันที่ 10 พฤษภาคม พ.ศ. 2516. กรุงเทพฯ: ศูนย์การพิมพ์ซอยสุภัทรพล.

สมาพร ด้วงไกลถิ่น. (2550). ระเบียบวิธีการขับร้องและบรรเลงเพลงลงสรง. วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาดุริยางค์ไทย คณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ กระทรวงศึกษาธิการ. (2535). หนังสือพระราชทานเพลิงศพ ครูท้วม ประสิทธิกุล. กรุงเทพฯ: อมรินทร์พริ้นติ้งกรุ๊ป จำกัด.

สุพัชรินทร์ วัฒนพันธ์. (2553). เอกสารประกอบการสอนรายวิชา การบรรจุเพลงร้องและเพลงหน้าพาทย์. ศึกษาศาสตร์บัณฑิต สาขาดนตรีคีตศิลป์ไทย สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์. กรุงเทพฯ:

(ม.ป.พ.).

สำนักข่าวกรมประชาสัมพันธ์. (2562). สรงพระมุรธาภิเษก พระราชพิธีบรมราชาภิเษกในวันพระฤกษ์. สืบค้น 2 ตุลาคม 2565, จาก https://thainews.prd.go.th/th/news/detail/

TCATG190504164911313

อาภาภรณ์ ทองไกรแสน. ครูชำนาญการคีตศิลป์ไทย วิทยาลัยนาฏศิลป์อ่างทอง. (9 สิงหาคม 2565). สัมภาษณ์.