ศิลป์ในถิ่น: แนวทางการจัดการเรียนรู้ศิลปศึกษาเพื่อพัฒนาท้องถิ่น

Main Article Content

ทิวาพร อรรคอำนวย
นัฏฐิกา สุนทรธนผล

บทคัดย่อ

ศิลป์ในถิ่น : การจัดการเรียนรู้ศิลปศึกษาเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น มีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอแนวทางการจัดการเรียนรู้ศิลปศึกษาที่บูรณาการไปสู่การพัฒนาบริบทชุมชนในท้องถิ่น สิ่งแวดล้อม เศรษฐกิจ โดยใช้ประโยชน์จากวัฒนธรรมและศิลปะ ผ่านแนวทางการจัดการเรียนรู้ ศิลป์ในถิ่น โดยนำเสนอแนวทางผ่านการมองภาพอนาคต และทบทวนรากฐาน คือบริบทในพื้นที่ใกล้ตัว นำไปสู่การวางกรอบและแผนการแก้ปัญหาด้วยความร่วมมือ การมีส่วนร่วมรับผิดชอบ ครอบครัว ชุมชน ผู้สอน ผู้เรียน และหน่วยงานสนับสนุน ร่วมกันสะท้อน แสวงหาความเป็นไปได้รวมถึงโอกาสในการจัดการเรียนรู้ศิลปศึกษา เพื่อเป็นเครื่องมือในการเชื่อมต่อและบูรณาการทุกสาระวิชาอย่างเป็นระบบ การเข้าใจปัญหา เข้าใจวัฒนธรรม เข้าใจท้องถิ่น การตั้งเป้าหมายเพื่อแก้ปัญหา การมีส่วนในการแก้วิกฤติชุมชน สู่การพัฒนาที่นำไปสู่การตั้งรับปรับตัวได้ การทบทวนสะท้อนคิด การปฏิบัติ การนำเสนอและเผยแพร่ เพื่อเสริมสร้างศักยภาพทุนมนุษย์ให้ออกไปช่วยเปลี่ยนแปลงสังคม แก้ปัญหาและพัฒนาพื้นที่สภาพแวดล้อมให้เอื้อต่อการเรียนรู้ พัฒนาวัฒนธรรมและศิลปะอย่างเป็นรูปธรรม ผ่านการบูรณาการสร้างสรรค์

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

กนกวรา พวงประยงค์. (2020). รูปแบบการดำเนินชีวิตของคนรุ่นใหม่ในสังคมชนบทไทยภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ: กรณีศึกษาพื้นที่การเรียน รู้ด้วยการบริการสังคมของบัณฑิตอาสาสมัครมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์: Lifestyle of Young Generation in the Rural Society of Northern and North-Eastern Thailand: A Case Study of Service-Learning Areas of Graduate Volunteer Students, Thammasat University. วารสารวิชาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา, 28(2), 1-28.

กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา. (2561). ท่องเที่ยวชุมชนบ้านบุ่งเลิศ. สืบค้นจาก https://www.touronthai.com/article/123308

กระทรวงวัฒนธรรม. (2559). ร่างกรอบทิศทางยุทธศาสตร์ 20 ปี ด้านวัฒนธรรม ตามกรอบทิศทางยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี. กรุงเทพฯ: สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ สำนักงานปลัดกระทรวงวัฒนธรรม.

กฤติเดช สุขสาร. (2562). การประยุกต์ใช้การสอนเชิงรุกอาคีตะโมเดลในโรงเรียนประถมศึกษา. วารสารสมาคมพัฒนาวิชาชีพการบริหารการศึกษาแห่งประเทศไทย (สพบท.), 1(4), 17-24.

เจษฎา นาจันทอง. (2561). การพัฒนารูปแบบการเรียนรู้แบบสังคมเชิงรุกออนไลน์ ที่ส่งเสริมทักษะการเรียนรู้และนวัตกรรมสำหรับผู้เรียนระดับมัธยมศึกษา. (ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต). มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม.

ชิรวัฒน์ นิจเนตร. (2561). การเรียนรู้ด้วยการบริการสังคม : ทางเลือกหนึ่งในการรับใช้สังคมของมหาวิทยาลัย. วารสารราชภัฏสุราษฎร์ธานี, 5(1-31).

ฐิติยา เนตรวงษ์. (2564). แรงงานทักษะดิจิทัลของพลเมืองแห่งศตวรรษที่ 21 เพื่อรองรับเทคโนโลยีพลิก ผันบนชีวิตวิถีถัด ไป. วารสารวิทยาการจัดการมหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร, 2(1), 1-15.

ทิวาพร อรรคอำนวย. (2022). การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสารเป็นฐานการจัดการเรียนการสอนนาฏศิลป์ในยุคโลกพลิกผัน (VUCA World). Ratchaphruek Journal, 20(2), 29-42.

ธนีนาฏ ณ สุนทร. (2561). USE - Service Learning Model: สู่การพัฒนานักศึกษาในยุค Thailand 4.0. วารสารครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 46(3), 325-244.

ธัญญา พรก่องขันธ์. (2562). การพัฒนาความสามารถในการออกแบบ การจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญและจิตอาสาโดยใช้การจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบบริการสังคม (Service learning): กรณีศึกษาสาขาวิชาสังคมศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม. Journal of Graduate School Sakon Nakhon Rajabhat University, 16(73), 50-57.

นำชัย ชีววิวรรธน์. (2565). พลังแห่ง Soft Skill ทักษะที่จะช่วยให้เด็กเข้าใกล้ความสำเร็จในชีวิตได้มากขึ้น. สืบค้นจาก https://thepotential.org/knowledge/soft-skill-power/

เนตรธิดาร์ บุนนาค. (2563). SDG Vocab12 Education for Sustainable Development การศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน (ESD). สืบค้นจาก https://www.sdgmove.com/2021/05/29/sdg-vocab-12-education-for-sustainable-development/

ประติมา ธันยบูรณ์ตระกูล ปุณณรัตน์ พิชญไพบูลย์ และขนบพร แสงวณิช. (2560). ศิลปศึกษากับการใช้สถานที่เป็นฐานเพื่อส่งเสริมการเห็นคุณค่าทางศิลปวัฒนธรรม. ฉบับภาษาไทย สาขามนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และศิลปะ, 10(3), 2732-2749.

ประทีป คงเจริญ. (2564). ทักษะการเรียนรู้และนวัตกรรม: คุณลักษณะสำคัญของพลโลกในยุคเศรษฐกิจที่ขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรม. Journal of Humanities and Social Sciences Thonburi University, 15(3), 165-177.

ประสาท เนืองเฉลิม. (2558). การเรียนรู้โดยการบริการสังคม. Prae-wa Kalasin Journal of Kalasin University, 2(1), 9-18.

ผดุง จิตเจือจุน. (2562). สถานการณ์ปัจจุบันของเด็กและเยาวชนไทย.

พระสมุห์สุรพล สุทธญาโณ(ดอนเตาเหล็ก). (2563). พลวัตประเพณีการทำบุญกฐินของชาวภูไทในตำบลบุ่งเลิศ อำเภอเมยวดี จังหวัดร้อยเอ็ด. สืบค้นจาก https://e-thesis.mcu.ac.th/thesis/680

ภริมา วินิธาสถิตย์กุล ชนินันท์ แย้มขวัญยืน. (2565). การเรียนรู้เชิงรุก: แนวทางการเรียนการ สอนที่เป็นเลิศในศตวรรษ ที่ 21. วารสาร นวัตกรรม การ ศึกษา และ การ วิจัย, 6(3), 921-933.

รัตนะ พูนเกษม ระวิวรรณ วรรณวิไชย สุรีรัตน์ จีนพงษ์. (2565). การพัฒนาโมเดลการสอนนาฏศิลป์ไทยตามแนวคิดสะตีมสำหรับโรงเรียนวิทยาศาสตร์. Journal of Arts Management, 6(2), 711-727.

รัศมี ศรีนนท์ อุดมกฤษฏิ์ ศรีนนท์ วิภารัตน์ ยมดิษฐ์ และกรรณิการ์ กิจนพเกียรติ. (2561). การจัดการเรียนรู้เชิงรุกในยุคไทยแลนด์ 4.0. วารสารการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยศิลปากร, 9(2), 331-343.

สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2565). 5 ปี ของการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และการปฏิรูปการศึกษา : บทเรียน ความท้าทาย และปัจจัยสู่ความสำเร็จ. สืบค้นจาก https://shorturl.asia/ZCzf7

สำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจสร้างสรรค์ (องค์การมหาชน). (2565).

สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (ม.ป.ป.). SDGs. สืบค้นจาก https://sdgs.nesdc.go.th/เกี่ยวกับ-sdgs/

สุภัค โอฬารพิริยกุล. (2562). STEAM EDUCATION : นวัตกรรมการศึกษาบูรณาการสู่การจัดการเรียนรู้. วารสารวิจัยและพัฒนาหลักสูตร, 9(1), 1-16.

Evseeva, S., Evseeva, O., & Rawat, P. (2022). Employee Development and Digitalization in BANI World. Paper presented at the International Scientific Conference on Innovations in Digital Economy.

Feldman, E. B. (1996). Philosophy of art education.

Forum, W. E. (2020). The future of jobs report 2020. Retrieved from Geneva.

Guhn, M., Emerson, S. D., &

Gouzouasis, P. (2020). A population-level analysis of associations between school music participation and academic achievement. Journal of Educational Psychology, 112(2), 308.

Jones, I., & Lake, V. E. (2018). Learning, Service, and Caring. Social Studies and the Young Learner, 30(4), 28-32.

Kolodner, J. L., Camp, P. J., Crismond, D., Fasse, B., Gray, J., Holbrook, J., . . . Ryan, M. (2003). Problem-based learning meets case-based reasoning in the middle-school science classroom: Putting learning by design (tm) into practice. The journal of the learning sciences, 12(4), 495-547.

Kooli, C. (2019). The philosophy of education in the sultanate of Oman: Between perennialism and progressivism. American Journal of Education and Learning, 4(1), 36-49.

Layder, D. (2005). Understanding social theory: Sage.

Lee, H. (2013). Understanding and application of STEM/STEAM education. Seoul, Korea: Bookshill. Lincoln.

Org, I. (2015). The Field Guide to Human Centered Design: Ideo Org.

Review101รีวิวร้อยเอ็ด. (2563). หมู่บ้านเพื่อการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ วัฒนธรรมประเพณีภูไท. สืบค้นจาก https://shorturl.asia/pIujC

ROTH, W. M., & Jornet, A. (2014). Toward a theory of experience. Science education, 98(1), 106-126.

Sinha, D., & Sinha, S. (2020). Managing in a VUCA world: Possibilities and pitfalls. Journal of Technology Management for Growing Economies, 11(1), 17-21.

Sullivan, G. (2001). Artistic thinking as transcognitive practice: A reconciliation of the process-product dichotomy. Visual Arts Research, 2-12.

Suriyankietkaew, S., & Avery, G. (2016). Sustainable leadership practices driving financial performance: Empirical evidence from Thai SMEs. Sustainability, 8(4), 327.

Weise, M. R. (2020). Long life learning: Preparing for jobs that don't even exist yet: John Wiley & Sons.

สัมภาษณ์

นายสวัสดิ์ สุวรรณไตร, ปราชญ์ชาวบ้านด้านดนตรีภูไทบุ่งเลิศ, สัมภาษณ์, 2565

นายบรรยงค์ โสภาคะยัง, ปราชญ์ชาวบ้านด้านดนตรีภูไทบุ่งเลิศ, สัมภาษณ์, 2565

นางบัวพันธ์ วังคะฮาด, ปราชญ์ชาวบ้านด้านการขับลำและศิลปะการแสดงภูไทบุ่งเลิศ, สัมภาษณ์, 2565

นางวงสวรรค์ ใจคง, ผู้ใหญ่บ้าน, สัมภาษณ์, 2565

นางสังวาล กองอุดม, ผู้ใหญ่บ้าน, สัมภาษณ์, 2565