การสร้างสรรค์ทับทรวงตัวพระ ด้วยแนวคิดเชิงนวัตกรรม

Main Article Content

สมศักดิ์ ทองปาน

บทคัดย่อ

บทความวิจัยเรื่องนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างสรรค์ทับทรวงตัวพระ ด้วยแนวคิดเชิงนวัตกรรมจากการศึกษารูปแบบอัตลักษณ์ของทับทรวงพระในละครไทยตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน พบว่าเราสามารถออกแบบทับทรวงตัวพระ ในรูปแบบประยุกต์สร้างสรรค์ ด้วยเหตุผลที่จะสร้างประโยชน์กับพื้นที่ด้านหลังของตัวทับทรวง ซึ่งมีความบางเบาใช้ประกอบการแต่งกายเพื่อการแสดงนาฏศิลป์ไทย ด้วยแนวคิดที่จะทำอย่างไรให้พื้นที่ด้านหลังของทับทรวงตัวพระเกิดประโยชน์อย่างคุ้มค่า กล่าวคือมีความสวยทั้งด้านหน้า และมีประโยชน์ที่ด้านหลังของชิ้นงานในการจัดเก็บของมีค่าส่วนตัว สร้างการเปลี่ยนแปลงในงานถนิมพิมพาภรณ์ ในรูปแบบใหม่ เป็นทรัพย์สินทางปัญญา กลายเป็นนวัตกรรมใหม่ "Innovation Thailand" ซึ่งได้นำวิชาศิลปะสาระนาฏศิลป์มาเชื่อมโยงในการจัดการเรียนรู้มาพัฒนาตนเองสู่ความเป็นเลิศทางวิชาการ ซึ่งนวัตกรรมใหม่ การประดิษฐ์ “ทับทรวงตัวพระ” รูปแบบนี้ไม่เคยปรากฏมาก่อน ในแวดวงเครื่องประดับประกอบการแต่งกายการแสดงนาฏศิลป์ไทย

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

กนกพร ตั้งมนัสไชยสกุล. (2554). ความสัมพันธ์ระหว่างรูปแบบการคิดเชิงนวัตกรรมภาวะผู้นาการเปลี่ยนแปลงและการรับรู้ความสำเร็จในอาชีพของผู้บริหารในสายอาชีพวิศวกรรม. วิทยานิพนธ์ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาจิตวิทยาอุตสาหกรรมและองค์การบัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยรามคาแหง.

กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน). (2562). นวัตกรรมเพื่ออนาคต. กรุงเทพฯ: สำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ.

เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์. (2558). เปิดประตูสู่อาเซียนด้วยการคิดเชิงนวัตกรรมอย่างสร้างสรรค์. จุลสาร ป.ป.ช.“สุจริต”, 15(55), 43-45.

ชัยณรงค์ วงศ์ธีรทรัพย์. (2557). ถอดรหัสแนวคิด เพื่อชีวิตที่มีคุณค่า. กรุงเทพฯ: อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง.

ชาญณรงค์ วิเศษสัตย์. (2562). การพัฒนารูปแบบการเรียนรู้ส่งเสริมทักษะการคิดเชิงนวัตกรรมของนักศึกษาวิชาชีพครู. ปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน, มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

ณัฏฐภัทร จันทวิช และคณะ (2559).เครื่องประดับตกแต่งร่างกายหรือถนิมพิมพาภรณ์ : กรมศิลปากร กระทรวงวัฒนธรรม. รุ่งศิลป์การพิมพ์

ทิศนา แขมมณี. (2560). ศาสตร์การสอน: องค์ความรู้เพื่อการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ (พิมพ์ครั้งที่ 8). กรุงเทพฯ: แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

เนาวนิตย์ สงคราม. (2556). ผลของการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดการเรียนรู้เชิงรุกและแนวคิดการเรียนการสอนบนเว็บแบบผสมผสาน เพื่อการออกแบบการศึกษานอกสถานที่เสมือนและส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ของนักศึกษา ครุศาสตร์ ศึกษาศาสตรระดับปริญญาบัณฑิต. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย: ม.ป.ท.

ปณิตา ทิพย์หทัย และคณะ(2552).การพัฒนาหลักสูตรสาระเพิ่มเติม เรื่อง การประดิษฐ์เครื่องศิราภรณ์สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6.มหาวิทยาลัยนเรศวร.

พิณสุดา สิริรังธศรี (2557).การยกระดับคุณภาพครูไทยในศตวรรษที่ 21.สำนักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.).บริษัท มาตา การพิมพ์ จำกัด.

พินันทา ฉัตรวัฒนา. (2561). แนวคิดทักษะนวัตกรรมเชิงสร้างสรรค์กับการส่งเสริมสู่ประเทศไทย 4.0. ครุศาสตร์อุตสาหกรรม, 17(3), 222-229.

ไพฑูรย์ สินลารัตน์ และคณะ. (2557). เติบโตตามศักยภาพสู่ศตวรรษที่21 ของการศึกษาไทย. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ภูริ วงศ์วิเชียร. (2558). อนาคตภาพของคุณลักษณะบัณฑิตวิชาชีพครู สาขานาฏศิลป์ไทยในทศวรรษหน้า (พ.ศ.2560-2569). วารสารสาขามนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์ และศิลปะ มหาวิทยาลัยศิลปากร.

วิจารณ์ พานิช. (2555). การศึกษาไทย 2552-2553 สู่เส้นทางแห่งอาจารย์บูชา “ครูเพื่อศิษย์” ส.ค.ส. 2553. กรุงเทพฯ: สถาบันส่งเสริมการจัดการเรียนรู้เพื่อสังคม.

สิริกมล มงคลยศ.(2565).การพัฒนาตัวบ่งชี้ทักษะการคิดเชิงนวัตกรรมสาหรับครูระดับชั้นมัธยมศึกษา สังกัดคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานในเขตภาคกลาง : การทดสอบความไม่แปรเปลี่ยนของการวัดตามประสบการณ์การทำงาน.ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยศิลปากร.

สุวิชญ์ รัศมีภูติ.(2536). เครื่องศิราภรณ์(ศึกษาเฉพาะกรณีหัวโขน). ฝ่ายช่างสิบหมู่ กองหัตถศิลป์.กรมศิลปากร.

สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2561). ยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี พ.ศ. 2561-2580. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ.

อรชร ปราจันทร์. (2560). รูปแบบการบริหารเพื่อพัฒนาทักษะการคิดเชิงนวัตกรรมของครูในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน.ปริญญาการศึกษาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา, มหาวิทยาลัยนเรศวร.

Amelink, C., Fowlin, J., & Scales, G. (2013). Defining and Measuring Innovative Thinking Among Engineering Undergraduates. In 120th ASEE Annual Conference and Exposition, June 22-23 (1-5). Atlanta: American Society for Engineering Education.

Bellanca, J., & Brandt, R. (2010). 21st Century Skills : Rethinking How Students Learn. Indiana: Solution Tree Press.

Ekanem, A. (2016). The Power of Positive, Creative and Innovative Thinking. California: CreateSpace Independent Publishing Platform.

Garrison, D. R. (2015). Thinking collaboratively : Learning in a community of inquiry. NewYork: Rutledge.

Giles,Sunnie. (2018 May 9,). “How VUCA is Reshaping The Business Environment, And What It Means for Innovation”. สืบค้นเมื่อ 16 เมษายน 2563, จาก https://www.forbes.com.

Lee, C., & Benza, R. (2015). Teaching Innovation Skills: Application of Design Thinking in a Graduate. Marketing Course. Business Education Innovation Journal, 7(1), 43-50.

Maxwell, J. C. (2009). How successful people think: Change your thinking, change your life. London: Center Street.

Weiss, D. S., & Legrand, C. (2011). Innovative intelligence: The art and practice of leading sustainable innovation in your organization. New York: John Wiley & Sons.

Wheeler, J. (1998). The Power of Innovative Thinking: Let New Ideas Lead You to Success. New York: Career Press Inc.