กรณีศึกษาแบบอย่างการนำองค์ประกอบเทวตำนานเทพทวารบาลจีนบูรณาการสู่การออกแบบหนังสือภาพประกอบสามมิติเชิงสร้างสรรค์สำหรับเด็กวัย 3-6 ปี

Main Article Content

Yi He
ภูวษา เรืองชีวิน
ผกามาศ สุวรรณนิภา

บทคัดย่อ

เทพทวารบาลจีนของเมืองโบราณล่างจงถือเป็นหนึ่งในขุมสมบัติด้านศิลปะพื้นบ้านประจำภูมิภาคทางตอนเหนือของมณฑลเสฉวน ทว่าในปัจจุบันขุมสมบัตินี้กลับเสียหายร้ายแรงจนหลงเหลืออยู่เพียงน้อยนิด บทความวิจัยนี้เป็นการศึกษาและวิเคราะห์ตำนานเทพทวารบาลจีนของเมืองโบราณล่างจง มณฑลเสฉวน ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีนในเชิงลึก เพื่อนำองค์ความรู้เกี่ยวกับตำนานเทพทวารบาลจีนมาใช้เป็นหัวข้อหลักในการออกแบบและสร้างสรรค์หนังสือภาพประกอบเชิงสร้างสรรค์สามมิติสำหรับเด็กอนุบาลวัย 3-6 ปี ซึ่งรูปแบบการแสดงออกเชิงศิลปะที่เกิดจากการบูรณาการร่วมกันระหว่างหนังสือภาพสำหรับเด็กและปัจจัยวัฒนธรรมจีนในการวิจัยครั้งนี้ไม่เพียงนำไปสู่การสืบสานวัฒนธรรมเทพทวารบาลจีนเมืองโบราณล่างจงด้วยวิธีการที่สร้างสรรค์ แต่ในขณะเดียวกันยังเป็นการเปิดโอกาสให้เหล่าผู้ปกครองและเด็ก ๆ ที่ไม่เคยรับรู้หรือไม่เข้าใจวัฒนธรรมเทพทวารบาลจีนได้เริ่มศึกษาทำความเข้าใจในวัฒนธรรมเทพทวารบาลจีนเสียใหม่

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

Chen Lili. (n.d.). Three-dimensional Picture Book Design Based on Scene Reappearance. Nanjing : Nanjing University of Finance and Economics.

Gao Shan. (2015). Research on the Painting Characteristics and Creation of Children’s Original Picture Books. Xi’an : Xi’an Northwest University.

Huang Xin. (2019). The application of paper structure in three-dimensional picture books-taking the graduation work “Thorn” as an example. Harbin : Harbin Normal University.

Li Dongfeng. (2011). Anthropological Investigation of the Painted Wooden Door Gods in Langzhong. Journal of the School of Art Inner Mongolia University, 2011(01).

Li Jimei. (2013). Feng Xiaoxia's Guide to Learning and Development of Children Aged 3-6. n.p. : People's Education Press.

Li Kehan. (2018). Research on the Creation of Children's Picture Book “Journey to the West”. Jilin : Jilin University of Arts.

Lin Xiuping. (n.d.). Reasonable selection of English picture books and its significance to English reading teaching in primary schools. Hangzhou : Hangzhou Tiancheng Education Group.

Liu Liwei. (2007). Research on Book Design of Modern Picture Book. Beijing : Beijing Institute of Printing and Printing.

Wang Hongying. (2002). On Door God Painting and Its Artistic Features. Journal of Henan University (Social Science Edition), 2002(03).

Wang Yawen, Tao Huawu & Fengxiangqinqiong. (2019). Comparative Study on the Divine Painting of Jingde door god. Xinan : Xinan University of Technology.

Yang Jiao. (2019). Picture Book Design of Preschool Children's Cognitive Characteristics. Nanchang : Nanchang University.

Yan Xing. (2013). Research on the animation of door gods in Chinese wood-block New Year paintings. Guangzhou : South China University of Technology.