การสร้างแบบทดสอบวินิจฉัยเรื่องกระบวนการให้เหตุผลทางคณิตศาสตร์สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 จังหวัดระยอง
Main Article Content
บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างและหาคุณภาพแบบทดสอบวินิจฉัย เพื่อหาคะแนนจุดตัดและสร้างคู่มือแบบทดสอบวินิจฉัยกระบวนการให้เหตุผลทางคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 จังหวัดระยอง กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2561 จำนวน 358 คน ซึ่งได้มาจากการสุ่มแบบหลายขั้นตอน ผลการวิจัยปรากฏว่าแบบทดสอบวินิจฉัยค่าตรงตามเนื้อหามีค่าอยู่ตั้งแต่ 0.50 – 1.00 ค่าความยากตั้งแต่ 0.55 - 0.79 ค่าอำนาจจำแนกตั้งแต่ 0.21 - 0.80 ค่าความเที่ยง มีค่าเท่ากับ 0.95 ค่าความตรงตามสภาพ มีค่าเท่ากับ 0.925 ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ .01 คะแนนจุดตัดหาโดยวิธีของ Angoff คะแนนตั้งแต่ 32 คะแนนขึ้นไป จากคะแนนเต็ม 52 คะแนน เป็นกลุ่มรอบรู้ โดยคิดเป็นร้อยละ 64.95 และเป็นกลุ่มไม่รอบรู้ โดยคิดเป็นร้อยละ 35.05
Article Details
หากผู้เสนอบทความมีความจำเป็นเร่งด่วนในการตีพิมพ์โปรดส่งลงตีพิมพ์ในวารสารฉบับอื่นแทน โดยกองบรรณาธิการจะไม่รับบทความหากผู้เสนอบทความไม่ปฏิบัติตามเงื่อนไขและขั้นตอนที่กำหนดอย่างเคร่งครัด ข้อมูลของเนื้อหาในบทความถือเป็นลิขสิทธิ์ของ Journal of Inclusive and Innovative Education คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
References
สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครนายก
(วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต). ภาควิชาวิจัยและจิตวิทยาการศึกษา
สาขาวิจัย วัดผลและสถิติการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา.
ขวัญใจ สายสุวรรณ. (2554). การสร้างแบบทดสอบวินิจฉัยจุดบกพร่องในการเรียนวิชาคณิตศาสตร์
เรื่องเลขยกกำลังสำหรับนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 (วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต).
สาขาวิชาวิจัยและประเมินผลการศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม.
ณัฐวิภา สุดแท้. (2559). การสร้างแบบทดสอบวินิจฉัย เรื่องการบวกและการลบ กลุ่มสาระการเรียนรู้
คณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา
มหาสารคาม เขต 1. (วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต). สาขาวิชาวิจัยและประเมินผล
การศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม.
นฤมล อุดรประจักษ์. (2555). การสร้างแบบทดสอบวินิจฉัยข้อบกพร่องทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์
เรื่องระบบสมการเชิงเส้น ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 (วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต).
สาขาวิชาวิจัยและประเมินผลการศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม.
ประกาย เครือเนตร. (2558). การสร้างแบบทดสอบวินิจฉัยข้อบกพร่องในการเรียนวิชาคณิตศาสตร์
เรื่องความน่าจะเป็น สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 (วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต)
สาขาวิชาวิจัยและประเมินผลการศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม.
ไพศาล วรคำ. (2555). การวิจัยทางการศึกษา (พิมพ์ครั้งที่ 2). มหาสารคาม: ตักสิลาการพิมพ์
ล้วน สายยศ และอังคณา สายยศ. (2543). เทคนิคการวัดผลการเรียนรู้. (พิมพ์ครั้งที่ 2).
กรุงเทพฯ: สุวีริยาสาส์น.
วัชรี กาญจน์กีรติ. (2554). การจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์. เข้าถึงจาก
https://sci.pbru.ac.th/sci52/dmdocments/E-book/000-mhat001.pdf.
วิสารัตน์ วงศ์ภูรี. (2556). การสร้างแบบทดสอบวินิจฉัยจุดบกพร่องในการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ สาระที่ 4
พีชคณิต เรื่องการแก้โจทย์ปัญหาสมการ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 (วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต). สาขา
วิชาการวัดผลการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
สถาบันการส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2555ข). ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์.
(พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ: 3-คิวมีเดีย.
สนทนา สระมูล. (2558). การสร้างแบบทดสอบวินิจฉัยกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
เรื่องอสมการชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 (วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต).
สาขาวิชาวิจัยและประเมินผลการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม.
สมบัติ ท้ายเรือคำ. (2547). ระเบียบวิธีวิจัยสำหรับมนุษย์ศาสตร์และสังคมศาสตร์.
กาฬสินธุ์: ประสานการพิมพ์.
สุชานาฎ คำพินันท์. (2559). การสร้างแบบทดสอบวินิจฉัยข้อบกพร่องในการเรียนวิชาคณิตศาสตร์
เรื่องจำนวนเต็ม สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 (วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต).
สาขาวิชาวิจัยและประเมินผลการศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม.
สุมานี กลิ่นพูน. (2555). การสร้างแบบทดสอบวินิจฉัยในการสร้าง วิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง โจทย์ปัญหาเศษส่วน
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 (วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต).
สาขาวิชาวิจัยและประเมินผลการศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม.
สุรวาท ทองบุ. (2553). การวิจัยทางการศึกษา (พิมพ์ครั้งที่ 6). มหาสารคาม: อภิชาติการพิมพ์.
อารีรัตน์ แสงดาว. (2559). การพัฒนาแบบทดสอบวินิจฉัยข้อบกพร่องในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์
สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1. (วิทยานิพนธ์วิทยา
ศาสตรมหาบัณฑิต). สาขาวิชาการวิจัยและประเมินทางการศึกษา
คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาเกษตรศาสตร์.
Arthur J., Baroody. (1993). Problem Solving Reasoning and Communicating. K-8.
New York: McMillan Publishing Company.
Jeannotte, D. (2017). Unmodle conceptuel du raisonnement mathématique
pourl’apprentissage et l’enseignement au niveau secondaire. [A conceptual model of mathematical reasoning for
school mathematics]. Unpublished doctoral dissertation, Université du Québec à Montréal.
O’Daffer, P.G., & Thornquist, B.A. (1993). Critical thinking mathematical reasoning and proof.
In research ideas for the classroom: High school mathematics.
Wilson. Patricias: 39-56. New York: MacMillan.
The national council of teachers of mathematics (NCTM). Curriculum and valuation standards
for school Mathematics. Reston, Va: National Council of Teachers of Mathematics.
Russell, S.J. (1989). Mathematical reasoning in the elementary grades. In developing
mathematical reasoning in K -12 .Stiff, Lee V: 1 -12. Reston, Virginia: National
Council of Teachers of Mathematics.