ความท้าทายการจัดการศึกษาในยุค Disruptive Change ของผู้บริหารสถานศึกษา

Main Article Content

ชัชชญา พีระธรณิศร์

บทคัดย่อ

บทความนี้มีวัตถุประสงค์ที่จะอภิปรายถึงความสำคัญและความเข้าใจถึงความท้าทายการจัดการศึกษาในยุค Disruptive Change ของผู้บริหารสถานศึกษา เพื่อรับมือกับเหตุการณ์ที่เปลี่ยนแปลงแบบพลิกโฉมของเทคโนโลยีดิจิทัลต่อการบริหารของผู้บริหารสถานศึกษาสู่การจัดการศึกษาและการจัดการเรียนรู้โดยผู้บริหารสถานศึกษาในยุคดังกล่าวมี 4 ลักษณะคือ1) คุณลักษณะผู้บริหารสถานศึกษาในยุคใหม่  2) บทบาทหน้าที่ 3) ทักษะยุคใหม่ 4) คุณธรรม จริยธรรม  ซึ่งผู้บริหารสถานศึกษาจะต้องมีทัศนคติที่ดี ต่อเทคโนโลยีดิจิทัล การปรับเปลี่ยนวิธีการทำงาน บุคลากร หลักสูตร กระบวนการเรียนรู้ การพัฒนาสื่อ การวัดและประเมินผล นวัตกรรม การจัดการการเรียนรู้ ส่งเสริม สนับสนุนให้ผู้สอนมีบทบาทเป็นโค้ช เรียกว่า รูปแบบโค้ช “3Es”  ซึ่งเป็นปัจจัยที่จะทำให้การโค้ชของผู้สอนประสบความสำเร็จได้ คือ 1)การสร้างความยึดมั่นผูกพัน (Engage) 2)การเสริมพลังการเรียนรู้ (Empower) 3)การสร้างความกระตือรือร้นในการเรียนรู้ (Enliven) เทคโนโลยีดิจิทัลจึงมีบทบาทสำคัญในการศึกษา ดังนั้นผู้บริหาสถานศึกษาก็ควรตระหนักถึงผลกระทบที่มีต่อการจัดการศึกษาและการเรียนรู้มากขึ้นไปพร้อมๆกับการมีคุณธรรม จริยธรรม

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

กัลยา ติงศภัทิย์. (2557). ความท้าทาย ณ ขอบแดนใหม่แห่งการเรียนรู้: การศึกษาระบบ 4.0. ใน สัมมนาทางวิชาการ.จัดสัมมนาโดย ศูนย์นวัตกรรมการเรียนรู้จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, โรงแรมดุสิตธานี กรุงเทพมหานคร.

จรัล เลิศจามีกร. (2554). กิจกรรมการบริหารของผู้บริหารสถานศึกษาตามการรับรู้ในการปฏิบัติของผู้บริหาร ครูและคณะกรรมการสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลพบุรี (วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต). สาขาบริหารการศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี.

จรวยพร ธรณินทร์. (2550). การนำเศรษฐกิจพอเพียงสู่การศึกษา. กรุงเทพมหานคร: สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ.

ชัยยนต์ เพาพาน. (2559). การจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาท้องถิ่น สู่ประชาคมอาเซียน : ทิศทางใหม่ในศตวรรษที่ 21. ใน การประชุมวิชาการระดับชาติ ครุศาสตร์ ครั้งที่ 1. การประชุมจัดโดย คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์,มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์ อาคารเรียนรวมและปฏิบัติการเทคโนโลยีสารสนเทศ.

ดวงหทัย โฮมไชยะวงศ์. (2557). การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนทีเน้นการโค้ชและการดูแลให้คําปรึกษาแนะนําเพื่อส่งเสริมสมรรถนะครูประถมศึกษาของนักศึกษาวิชาชีพครู (วิทยานิพนธ์ปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิต). ภาควิชาหลักสูตรและการสอน สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร.

ธีรศักดิ์ อุปไมยอธิไชย. (2560). พื้นฐานการจัดการการศึกษา. กรุงเทพมหานคร: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ธงชัย เจนโกศล. (2557). คุณลักษณะของผู้บริหารสถานศึกษามืออาชีพตามความคิดเห็นของครูผู้สอนในโรงเรียนมัธยมศึกษาจังหวัดกาญจนบุรีสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 8 (การค้นคว้าอิสระหลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิต). สาขาวิชาการบริหารการศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี.

นิรภัย จันทร์สวัสดิ์. (2551). การบริหารความเสี่ยง. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

บริษัท ปตท.จำกัด(มหาชน). (2560). Design+Innovation: Disrupting the Present to Create the Future.เข้าถึงจาก http://www.tcdc.or.th/articles/others/28231/ #นวัตกรรม—สร้างสรรค์อย่างไรในองค์กร.

ประกอบ คุปรัตน์. (2552). ผู้บริหารสถานศึกษาชื่อและความหมาย. เข้าถึงจากhttp://pracob.blogspot.com/2009/11/blog-post_1389.html.

พัชราภรณ์ ดวงชื่น. (2561). เปลี่ยนมุมมองการบริหารองค์กรการศึกษาในโลก Disruptive. วารสารบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยศิลปากร, 8, 248–256.

เพ็ญจันทร์ สินธุเขต. (2560). การศึกษายุคนี้(ยุคดิจิทัล): Thailand 4.0. การประชุมวิชาการระดับชาติครั้งที่ 3. การประชุมจัดโดย คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง.

พฤทธิ์ ศิริบรรณพิทักษ์. (2561). กระบวนทัศน์ใหม่ของการบริหารการศึกษา. เข้าถึงจาก https://www.sammajivasil.net/news11.htm.

พรวิทย์ พัชรินทร์ตนะกุล.(2562). Disrupt สถานศึกษาต้องมองไปข้างหน้า. เข้าถึงจาก https://thestandard.co/panyapiwat-institute-of-management/.

ยืน ภู่วรวรรณ. (2557). ความท้าทาย ณ ขอบแดนใหม่แห่งการเรียนรู้: การศึกษาระบบ 4.0 (Challenges of New Frontier In Learning: Education 4.0). ใน การสัมมนาทางวิชาการ ความท้าทาย ณ ขอบแดนใหม่แห่งการเรียนรู้:การศึกษาระบบ 4.0 (Challenges of New Frontier In Learning: Education 4.0). การสัมมนาจัดโดย ศูนย์นวัตกรรมการเรียนรู้ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, โรงแรมดุสิตธานี กรุงเทพมหานคร.

วรากรณ์ สามโกเศศ. (2559). รู้จัก Disruptive Technologies. เข้าถึงจาก https://www.bangkokbiznews.com/blog/detail/639505.

วิจารณ์ พานิช. (2560). เส้นทางสู่คุณภาพการศึกษายุคประเทศไทย 4.0 . ใน การประชุมเชิงวิชาการทางการศึกษาระดับชาติ ครั้งที่ 4. การประชุมจัดโดยมหาวิทยาลัยวงษ์เชาวลิตกุล, ศูนย์ประชุมสตาร์เวลล์ จังหวัดนครราชสีมา.

วิชัย วงษ์ใหญ่และมารุต พัฒผล. (2557). การโค้ชเพื่อการรู้คิด. กรุงเทพมหานคร: บริษัท จรัลสนิทวงศ์การพิมพ์ จำกัด.

วิชัย วงษ์ใหญ่และมารุต พัฒผล. (2562). การจัดการเรียนรู้ในยุค Disruptive Innovation. กรุงเทพมหานคร: ศูนย์ผู้นำนวัตกรรมหลักสูตรและการเรียนรู้.

อริญญา เถลิงศรี. (2561). Disruption: ทำลายล้างหรือสร้างโอกาส. เข้าถึงจาก https://thaipublica.org/2018/06/seac-disruption/.

เอกชัย กี่สุขพันธ์. (2559). การบริหารสถานศึกษายุคดิจิทัล. เข้าถึงจาก https://www.trueplookpanya.com/knowledge/content/52232/-edu-teaartedu-teaart-teaartdir--.

Avis Gaze. (2016). Preparing School Leaders: 21st Century Skills. Retrieved from http://www.principals.ca/documents/International Symposium White Paper - OPC.

Bradford, D., & Cohen, A. (1984). A Managing for Excellence: The Guide to Developing High Performance in Contemporary Organization. New York: John Wiley & Sons.

Christensen, Clayton M. et al. (2017). Disrupting Class: How Disruptive Innovation will Change the Way the World Learns. New York: McGraw-Hill, c2017.

Derick Meado. (2016). The Role of the Principal in Schools. Retrieved from http://teaching.about.com/od/admin/tp/Role-Of-The-Principal.htm.

Gerald Aungus. (2012). 21st Century Administrators: New Roles, New Responsibilities. Retrieved from http://www.geraldaungst.com/blog/2012/03/21st -century-.

George Couros. (2010). The 21st Century Principal. Retrieved from http://connectedprincipals.com/archives/1663.

Greene, J.C. (1992). A Study of Principals’ Perception of their Involvement in Decision Making Processes: It’ s on their Joy Performance. Dissertation Abstracts International, 79, 16 -18.

Maxine, A. B. (2015). Success for the New Global Manager: How to Work Across Distances, Countries, and Cultures. San Francisco: Jossey-Bass.

National Association of Secondary School Principals (NASSP). (2013). Breaking Ranks: 10 Skills for Successful School Leaders. Retrieved from https://www.nassp.org/Content/158/BR_tenskills_ExSum.pdf.

Weigel. (2012). Management Skills for the 21st Century: Avis Gaze /Preparing School Leaders: 21st Century Skills. Retrieved from http://www.principals.ca/documents/International Symposium White Paper - OPC.