การมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาของประชาชนตามร่างพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ ฉบับใหม่

Main Article Content

เอกพล ดวงศรี

บทคัดย่อ

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษารูปแบบการมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาของประชาชนตามร่างพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติฉบับใหม่ โดยศึกษาวิเคราะห์ข้อมูลจากร่างพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติฉบับใหม่และเอกสารที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งศึกษาและเก็บข้อมูลในพื้นที่กรณีศึกษาสมัชชาการศึกษาจังหวัดสุราษฎร์ธานี ผลการวิจัยพบว่า  ร่างพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติฉบับใหม่ที่ผ่านการพิจารณาของคณะกรรมการกฤษฎีกา วาระ 3  มีความแตกต่างจากพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม โดยเฉพาะประเด็นการมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาของภาคประชาชน พบว่า มีรูปแบบการมีส่วนร่วม 3 ระดับ ได้แก่ (1) รูปแบบการมีส่วนร่วมระดับสถานศึกษา (2) รูปแบบการมีส่วนร่วมระดับจังหวัด และ (3) รูปแบบการมีส่วนร่วมระดับชาติ

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

จุฬากรณ์ มาเสถียรวงษ์ และคณะ. (2560). รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์โครงการประสานงานวิจัยและพัฒนาการจัดการศึกษาเชิงพื้นที่. กรุงเทพมหานคร: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.

ซาโต มานาบุ. (2559). การปฏิรูปโรงเรียน แนวความคิด “ชุมชนแห่งการเรียนรู้” กับการนำทฤษฎีมาปฏิบัติจริง. นนทบุรี: โรงพิมพ์ภาพพิมพ์.

จิณณวัตร ปะโคทัง. (2549). รูปแบบการมีส่วนร่วมของชุมชนการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานของโรงเรียนดีเด่น โรงเรียนกันทรารมย์ จังหวัดศรีสะเกษ (วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต). สาขาวิชาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยบูรพา.

ทำนอง ภูเกิดพิมพ์. (2551). แนวคิดการบริหารแบบมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาของชุมชน. เข้าถึงจาก

http://gotoknow/org/blog/mathu/334443.

นิรันดร์ จงวุฒิเวศย์. (2527). การมีส่วนร่วมของประชาชนในการพัฒนา. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยมหิดล.

ปกรณ์ ปรียากร. (2530). ทฤษฎีและกลยุทธ์เกี่ยวกับการพัฒนา. กรุงเทพมหานคร: คณะรัฐประศาสนศาสตร์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.

ประจวบ หนูเลี่ยง เด่น ชะเนติยัง และนวลพรรณ วรรณสุธี. (2558). การพัฒนารูปแบบการจัดการศึกษาแบบมีส่วนร่วมของจังหวัดพัทลุง. วารสารปาริชาต มหาวิทยาลัยทักษิณ, 28, 232-253.

พชรภรณ์ สิงห์สุรี. (2558). การมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดระยอง จันทบุรี และตราด (วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต). สาขาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี.

พัฒนะพงษ์ สุขมะดัน และเสาวลักษณ์ กมลนาวิน. (2562). จากนับหนึ่งจนถึงวันนี้ บทสรุปการดำเนินงานและกรณีตัวอย่างการพัฒนาการเรียนรู้เชิงพื้นที่. กรุงเทพมหานคร: กองทุนเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา.

พฤทธิ์ ศิริบรรณพิทักษ์ และคณะ. (2554). การพัฒนารูปแบบสมัชชาการศึกษาเพื่อส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชน. กรุงเทพมหานคร: พริกหวานกราฟฟิค.

เมตต์ เมตต์การุณ์จิต. (2553). การบริหารจัดการศึกษาแบบมีส่วนร่วม: ประชาชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและราชการ. กรุงเทพมหานคร: บุ๊ค พอยท์.

ร่างพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ. (2562). เข้าถึงจาก https://drive.google.com/file/d/1tB1buvCThEQQEI8KPFK9gbXhF2SD4rH/view.

พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545. (2563). เข้าถึงจาก

https://www.bic.moe.go.th/images/stories/Porrorbor2542.pdf.

สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2562). รายงานการศึกษารูปแบบและกลไกการมีส่วนร่วมและสมัชชาการศึกษา. กรุงเทพมหานคร: พริกหวานกราฟฟิค.

เอกชัย กี่สุขพันธ์. (2538). การบริหาร: ทักษะและการปฏิบัติ. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์สุขภาพใจ.

Delancy, R. (2000). Parent Participation in District-evel Curriculum Decision Decision-Making: A Year in the Life of a School District. Proquest Digital Dissertation, 60, 2349.

Gustavo, W. (1992). The meaning of participation. Columbia: Habinet.

Pryor, J. (2005). Can Community Participation Mobilise Social Capital for Improvement of Rural Schooling? A Case Study from Ghana. Journal of Taylor and Francis, 35, 193 - 203.