ทักษะการคิดอภิปัญญาในการแก้โจทย์ปัญหาเคมีของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายกลุ่มชาติพันธุ์

Main Article Content

วีรยา รัตนอุทัยกูล
ลฎาภา ลดาชาติ

บทคัดย่อ

การวิจัยเชิงคุณภาพครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาทักษะการคิดอภิปัญญาในการแก้โจทย์ปัญหาเคมีของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายกลุ่มชาติพันธุ์ จำนวน 20 คน โดยการให้นักเรียนตอบแบบวัดทักษะการคิดอภิปัญญาในการแก้โจทย์ปัญหาเคมีจำนวน 6 ข้อ ซึ่งประกอบด้วย 2 ด้าน ได้แก่ ด้านความรู้เคมี และด้านกระบวนการแก้ปัญหา ร่วมกับการสัมภาษณ์แบบกึ่งโครงสร้างเป็นรายบุคคล ผู้วิจัยทำการวิเคราะห์เนื้อหาและจัดกลุ่มคำตอบของนักเรียนจากแบบวัด ผลการวิจัยพบว่า สามารถจำแนกนักเรียนออกเป็น 4 กลุ่ม ได้แก่ นักเรียนกลุ่มที่มีทักษะการคิดอภิปัญญาในการแก้โจทย์ปัญหาเคมีทั้งด้านความรู้เคมีและด้านกระบวนการแก้ปัญหาระดับดีมาก ดี และพอใช้ ร้อยละ 8.33, 35.83 และ 44.17 ตามลำดับ และนักเรียนกลุ่มที่ไม่มีทักษะการคิดอภิปัญญาร้อยละ 11.67 ผลการวิจัยนี้ให้ข้อสังเกตว่า ความถนัดในการใช้ภาษาไทยของนักเรียนกลุ่มชาติพันธุ์เป็นปัจจัยจำกัดต่อทักษะการคิดอภิปัญญาในการแก้โจทย์ปัญหาเคมี

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

กาญจนา สามเตี้ย. (2551). การพัฒนารูปแบบการสอน PRIPARE เพื่อพัฒนาความสามารถเมตาคอกนิชันของเด็กปฐมวัย

(วิทยานิพนธ์การศึกษาดุษฎีบัณฑิต). สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

กระทรวงศึกษาธิการ. (2551). ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางกล่มุสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ ตามหลักสูตร

แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.

ธรรมนัด โถบำรุง. (2551). การศึกษาความตระหนักคิดในระหว่างการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์จากการเขียนอธิบายของ นักเรียน. วารสารศึกษาศาสตร์มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 8(1), 117-124.

ธูปทอง กว้างสวาสดิ์. (2554). การสอนการคิด. กรุงเทพฯ: ข้าวฟ่าง.

นัตพงษ์ อนงค์เวช. (2561). ผลการใช้วัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 5 ขั้นตอนร่วมกับประสบการณ์ทางอภิปัญญาในรายวิชา ปฏิบัติการพันธุศาสตร์สำหรับนักศึกษาระดับปริญญาตรี. วารสารสาขามนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และศิลปะ ฉบับ ภาษาไทย มหาวิทยาลัยศิลปากร, 11(3), 1436-1453.

พัทธ ทองต้น. (2545). ผลของการเรียนวิทยาศาสตร์โดยใช้กลวิธีเมตาคอกนิชันต่อความสามารถในการแก้โจทย์ปัญหา วิทยาศาสตร์ และต่อการพัฒนาเมตาคอกนิชันของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้น(วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตร มหาบัณฑิต). ภาควิชามัธยมศึกษา สาขาการศึกษาวิทยาศาสตร์ คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

พาสนา จุลรัตน์. (2558). เมตาคอกนิชันกับการเรียนรู้. วารสารวิชาการศึกษาศาสตร์, 14(1), 1-17.

พงษ์พันธุ์ ศรีมันตะ. (2559). การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้คณิตศาสตร์ตามแนวคิดทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ที่เน้นการคิดเชิง อภิปัญญา เรื่อง ความน่าจะเป็น ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6. วารสารวิจัย มข. มส. (บศ.), 4(3), 132-136.

ประภัสสร เพชรสุ่ม. (2560). ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้วิธีการแบบเปิดที่มีต่อความสามารถในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2. วารสารราชพฤกษ์, 15(1), 80-87.

ประสิทธิ์ ลีปรีชา. (2557). กระบวนทัศน์การศึกษาชาติพันธุ์สัมพันธ์. วารสารสังคมลุ่มนํ้าโขง, 10(3), 219-242.

ลือชา ลดาชาติ. (2558). การวิจัยเชิงคุณภาพสำหรับครูวิทยาศาสตร์. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย.

วรัทยา มณีรัตน์. (2560). การพัฒนาทักษะกระบวนการแก้โจทย์ปัญหาเคมีเรื่อง กรด เบส โดยใช้กระบวนการแก้ปัญหาของ

โพลยาสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5. วารสารหน่วยวิจัยวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อมเพื่อการเรียนรู้, 8(2), 297-306.

ศรชัย มุ่งไธสง. (2560). สภาพและปัญหาการจัดการเรียนการสอนภาษาไทยของนักเรียนบนพื้นที่สูง กลุ่มโรงเรียน สังกัด

สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงราย เขต 3 จังหวัดเชียงราย. วารสารสังคมศาสตร์วิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย, 10, 9-22.

สิริเกศ หมัดเจริญ และ น้อยทิพย์ ลิ้มยิ่งเจริญ. (2554). การพัฒนาความสามารถในการแก้ปัญหาและ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน

วิชาฟิสิกส์ เรื่องเสียง ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โดยใช้กลวิธีเมตาคอกนิชัน. วารสารศึกษาศาสตร์ ฉบับวิจัยบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 5(4), 94 – 101.

อังคาร์ เทพรัตนนันท์. (2557). ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบร่วมมือโดยเสริมการคิดอภิปัญญาที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียน เรื่อง ปริมาณสารสัมพันธ์ และความสามารถในการคิดอภิปัญญา ของนักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียน สวนศรีวิทยา จังหวัดชุมพร. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา, 7(2), 31-43.

อัมพร เบญจพลพิทักษ์. (2559). ภาษา การสื่อสาร และการประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน. นนทบุรี: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

Adegoke, O.S. (1990). Waste Management within the Context of Sustainable Development. Department of Geology: Obafemi A wolowo University.

Annemie Desoete. (2016). Metacognitive macroevaluations in mathematical problem solving. Learning and Instruction, 16, 12-25.

Annemie Desoete, Herbert Roeyers, and Ann Buysse. (2001). Metacognition and Mathematical Problem Solving in Grade 3. Journal of Learning Disabilities, 34, 435-449.

Catherine M. Aurah, Setlhomo Koloi-Keaikitse, Calvin Isaacs, Holmes Finch. (2011). The role of metacognition in everyday problem solving among primary students in Kenya. Problems of

education in the 21st century, 30, 9-21.

Costa,L.A.; & Kallick,B. (2000). Describing 16 habits of mind. Retrieved form

http://www.habitsofmind.net/pdf/16HOM2.pdf.

Dahsah.(2007).Teaching and learning using conceptual change to promote Grade 10 students’

understanding and numerical problem solving skills in stoichiometry. Ph.D. (Science Education) thesis, Kasetsart University Bangkok, Thailand.

Dahsah, C. & Coll, R.V. (2007). Thai Grade 10 and 11 students’ conceptual understanding and

problem – solving ability in stoichiometry. Research in Science and Technological Education, 25(2), 227-241.

Flavell, J.H. (1979). Metacognition and Cognitive Monitoring : A new Area of Cognitive Developmental Inquiry. American Psychologist, 34(10), 906-911.

Julie Dangremond Stanton, Xyanthe N. Neider, Isaura J. Gallegos, and Nicole C. Clark. (2015).

Differences in Metacognitive Regulation in Introductory Biology Students: When Prompts Are Not Enough. CBE—Life Sciences Education, 14, 1-12.

Lester, FK. (1994). Musing about mathematical problem-solving research: 1970-1994.

Journal for Research in Mathematics Education, 25(6), 660-675.

Lester, Frank K., Jr.; And Others. (1989). The Role of Metacognition in Mathematical

Problem Solving : A Study of Two Grade Seven Classes. Final Report (Mathematics Education Research). Blomington: Indiana University.

Paulette Rozencwajg. (2003). Metacognitive factors in scientific problem- solving strategies.

European Journal of Psychology of Education, 18(3), 281 - 294.

Rowan W. Hollingworth and Catherine McLoughlin. (2001). Developing science students’ metacognitive

problem solving skills online. Australian Journal of Educational Technology, 17(1), 50-63.

Roman Taraban, Marcel Kerr & Kimberly Rynearson. (2004). Analytic and pragmatic factors

in college students’ metaconitive reading strategies. Reading Psychology, 25, 67-81.

Savaş Akgül, Nihat Gürel Kahveci. (2017). Developing a model to explain the mathematical

creativity of gifted students. European Journal of Education Studies, 3(8), 125-147.

Schmidt, H. J. (1994). Stoichiometry problem solving in high school chemistry. International Journal of

Science Education, 16(2), 191-200.

Schmidt, H. J. & Jigneus, C. (2003). Students’ strategies in solving algorithmic stoichiometry problem.

Chemistry Education : Research and Practice. 4(3), 305-317.

Schraw, G., Dennison, R. S. (1994). Assessing metacognitive awareness. Contemporary Educational

Psychology, 19, 460-475.

Schraw G, Moshman D. (1995). Metacognitive theories. Educational Psychology Review, 7(4), 351-371.

Senad Bećirović, Amna Brdarević-Čeljo, Jasmina Sinanović. (2017). The Use of Metacognitive Reading

Strategies among students at International Burch University : A Case Study. European Journal of Contemporary Education, 6(4), 645-655.

Yemliha Coşkun. (2018). A Study on Metacognitive Thinking Skills of University Students.

Journal of Education and Training Studies, 6(3), 38-46.