การพัฒนากิจกรรมบูรณาการตามแนวทางสะเต็มศึกษาเพื่อส่งเสริมทักษะกระบวนการคิดสำหรับศตวรรษที่ 21 ของนักเรียนระดับประถมศึกษาปีที่ 1 (โครงการละออพลัส) โรงเรียนสาธิตละอออุทิศ

Main Article Content

พวงผกา ปวีณบำเพ็ญ

บทคัดย่อ

การศึกษานำร่องครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนากิจกรรมบูรณาการตามแนวทางสะเต็มศึกษาเพื่อส่งเสริมทักษะกระบวนการคิดสำหรับศตวรรษที่ 21 ของนักเรียนระดับประถมศึกษาปีที่ 1 (โครงการละออพลัส) 2) ศึกษาทักษะกระบวนการคิดสำหรับศตวรรษที่ 21 หลังใช้กิจกรรมบูรณาการตามแนวทางสะเต็มศึกษาของนักเรียนระดับประถมศึกษาปีที่ 1 (โครงการละออพลัส) และ 3) ศึกษาความพึงพอใจและความคิดเห็นต่อกิจกรรมบูรณาการตามแนวทางสะเต็มศึกษาของนักเรียนระดับประถมศึกษาปีที่ 1 (โครงการละออพลัส) กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนระดับประถมศึกษาปีที่ 1 จำนวน 19 คน ปีการศึกษา 2564 โรงเรียนสาธิตละอออุทิศลำปาง ได้มาด้วยการสุ่มแบบแบ่งกลุ่ม โดยใช้ห้องเรียนเป็นหน่วยในการสุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบประเมินการคิดอย่างมีวิจารณญาณและการแก้ปัญหา วิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณโดยใช้สถิติบรรยาย ผลการวิจัยพบว่า 1) กิจกรรมบูรณาการตามแนวทางสะเต็มศึกษาเพื่อส่งเสริมทักษะกระบวนการคิดสำหรับศตวรรษที่ 21 ประกอบด้วย 3 กิจกรรม คือ egg tower challenge, egg basket challenge และ egg catapult challenge แต่ละกิจกรรมประกอบด้วย 9 องค์ประกอบ ได้แก่ ตัวชี้วัด สาระของกิจกรรม วัตถุประสงค์กิจกรรม วัสดุอุปกรณ์ ขั้นตอนของกิจกรรมและระยะเวลาการประเมินผล แผนการจัดกิจกรรม เรื่องเล่าประกอบกิจกรรม และใบกิจกรรมสำหรับนักเรียน 2) หลังใช้กิจกรรมบูรณาการตามแนวทางสะเต็มศึกษาเพื่อส่งเสริมทักษะกระบวนการคิดสำหรับศตวรรษที่ 21 นักเรียนระดับประถมศึกษาปีที่ 1 แสดงพฤติกรรมความสามารถในการคิดอย่างมีวิจารณญาณและการแก้ปัญหา เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่าด้านที่มีความถี่ของพฤติกรรมสูงสุดคือด้านการแก้ปัญหา รองลงมาคือด้านการใช้เหตุผลอย่างมีประสิทธิภาพ และด้านการตัดสินใจ ตามลำดับ 3) กลุ่มตัวอย่างมีความพึงพอใจต่อทุกกิจกรรมในระดับมาก นักเรียนส่วนใหญ่มีความรู้สึกทางบวกต่อทั้ง 3 กิจกรรม และมีความคิดเห็นทางบวกต่อเรื่องเล่าประกอบกิจกรรมบูรณาการตามแนวทางสะเต็มศึกษา

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

กมลฉัตร กล่อมอิ่ม. (2562). การพัฒนาหลักสูตรสะเต็มศึกษาเพื่อเสริมสร้างทักษะด้านการแก้ปัญหาอย่างมีวิจารณญาณ และการใช้ทักษะชีวิตสำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6. วารสารบรรณศาสตร์ มศว., 12(2), 61-70.

ภิญโญ วงษ์ทอง. (2562). ผลของการจัดกิจกรรมการเรียนรู้บูรณาการ STEAM Education ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์ทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณและความพึงพอใจของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4. วารสารหน่วยวิจัยวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อมเพื่อการเรียนรู้, 10(1), 94-112.

ภิญโญ วงษทอง. (2563). การเรียนรูบูรณาการสตีมศึกษาเพื่อพัฒนาความสามารถในการคิดอย่างมีวิจารณญาณและการแก้ปัญหาของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่1 ในโรงเรียนประถมศึกษาขนาดเล็ก. วารสารศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน, 43(2), 3-16.

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2562). คู่มือการใช้หลักสูตร กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ระดับประถมศึกษา. สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ.เข้าถึงจาก https://www.scimath.org/e-books/8922/flippingbook/index.html.

สุวิมล สาสังข์ และยุรวัฒน์ คล้ายมงคง. (2563). ผลการจัดกิจกรรมสะเต็มศึกษาโดยใช้กระบวนการเชิงวิศวกรรมที่มีต่อความสามารถในการแก้ปัญหาของนักเรียนประถมศึกษา. วารสารอิเล็กทรอนิกส์ทางการศึกษา (OJED), 15(1), 1-11.

อุไร ดอกคำ และสาวิตรี เถาว์โท. (2563). การพัฒนาชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ตามแนวสะเต็มศึกษา เรื่องดินในท้องถิ่นของเรา เพื่อส่งเสริมความสามารถในการคิดแก้ปัญหาสำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2. วิจัยและประเมินผลอุบลราชธานี, 9(1), 82-92.

Battelle for Kids. (2019). Framework for 21st century learning: A unified vision for learning to ensure student success in a world where change is constant and learning never stops. Retrieved from https://www.battelleforkids.org/networks/p21/frameworks-resources.

Benek, I. & Bezir Akcay, B. (2019). A new cooperative learning technique: question jury. International Journal of Research in Education and Science (IJRES), 5(2), 681-708.

Butler., D., McLoughlin E., O’Leary, M., Kaya, S., Brown, M. & Costello, E. (2020). Towards the ATS STEM Conceptual Framework. ATS STEM Report #5. Dublin: Dublin City University.

Carter, K. C. (2020). STEM Education in the Elementary School Classroom (Master of Science in Education). Thesis of the faculty of Dominican University of California.

Cunningham, C. M., (2018). Engineering in elementary STEM education: curriculum design, instruction, learning and assessment. Boston, MA: Museum of Science.

Dare, E. A., Ring-Whalen, E. A. & Roehrig, G. H. (2019). Creating a continuum of STEM models: Exploring how K-12 science teachers conceptualize STEM education. International Journal of Science Education, 41(12), 1701-1720.

Davis, E. A. (2015). Scaffolding Learning. Gunstone (ed.), Encyclopedia of Science Education, https://doi.org/10.1007/978-94-007-2150-0

Felder, R. M. & Brent, R. (2007). Cooperative Learning. Active Learning: Models from the Analytical Sciences, ACS Symposium Series 970, Chapter 4, 34–53. Washington, DC: American Chemical Society.

Hacioglu, Y. and Gulhan, F. (2021). The effects of STEM education on the students’ critical thinking skills and STEM perceptions. Journal of Education in Science, Environment and Health (JESEH), 7(2), 139-155.

Hertel, J. D., Cunningham, C. M., & Kelly, G. J. (2017). The roles of engineering notebooks in shaping elementary engineering student discourse and practice. International Journal of Science Education, 39(9), 1194-1217.

Keleman, M., Rasul, M. S. and Jalaludin, N. A. (2021). Assessment of higher order thinking skills through Stem integration project-based learning for elementary level. International Journal of Social Science and Human Research, 4(4), 835-847.

Khamngoen, S. and Srikoon, S. (2019). Research synthesis of STEM Education approach effected on students’ problem-solving skills in Thailand. Journal of Physics: Conference Series, 1835(2021), 012086.

Leasa, M., Corebima, A. D. & Batlolona, J. R. (2020). The effect of learning styles on the critical thinking skills in natural science learning of elementary school students. Ilkogretim Online-Elementary Education Online, 19(4), 2086-2097.

Mallcok, B. A. and Ceylan, R. (2022). The effects of STEM activities on the problem-solving skills of 6-year-old preschool children. European Early Childhood Education Research Journal, 3(3), 423-436.

Mater, N. R., Hussein, M. J. H., Salha, H. S., Draidi, F. R., Shaqour, A. Z., Qatanani, N. & Affouneh, S. (2020). The effect of the integration of STEM on critical thinking and technology acceptance model. Educational Studies, 5, 1-17.

Netwong, T. (2018). Development of problem-solving skills by integration learning following STEM Education for Higher Education. International Journal of Information and Education Technology, 8(9), 639-643.

Olokunde, T., Lawson, A., Mbarika, W., & Mensa, P. (2018). Digital storytelling as an educational tool for children learning STEM subjects. Arts, Humanities, Social Science & Education. Retrieved from https://artshumanitieshawaii.org/wp-content/uploads/2018/01/Olokunde-Temitope-2018-AHSE-HUIC.pdf.

Partnership for 21st Century Skills. (2008). 21st Century Skills, Education & Competitiveness: A Resource and Policy Guide. Tucson, AZ: Partnership for 21st Century Skills.

Sanders, M. (2009) STEM, STEM education, STEMmania. The Technology Teacher, 68(4), 20-26.

Shanta, S. & Well, J. G. (2022). T/E design based learning: assessing student critical thinking and problem solving abilities. International Journal of Technology and Design Education, 32, 267–285.

Srikoom, W., Hanuscin, D. L. and Faikhamta, C. (2017). Perceptions of in-service teachers toward teaching STEM in Thailand. Asia-Pacific Forum on Science Learning and Teaching, 18(2), Article 6.

Wahono, B., Lin, P. & Chang, C. (2020). Evidence of STEM enactment effectiveness in Asian student learning outcomes. International Journal of STEM Education, 7(2020), 36.

Wood, D., Bruner, J. S., & Ross, G. (1976). The role of tutoring in problem solving. Journal of Child Psychology and Psychitatry, 17, 89–100.

Wartono, W., Alfroni, Y. F., Batlolona, J. R. & Mahapoonyanont, N. (2019). Inquiry-scaffolding learning model: its effect on critical thinking skills and conceptual understanding. Jurnal Ilmiah Pendidikan Fisika Al-BiRuNi, 08(2), 249-259.

Zhang, J & Chen, B (2021). The effect of cooperative learning on critical thinking of nursing students in clinical practicum: A quasi-experimental study. Journal of Professional Nursing, 33, 177-183.