SUWANNASIAN, OMLOMTOMKHAM, AND THAOHUA : SIMILAR BUT NOT THE SAME

Authors

  • Phanthip Thiranet มหาบัณฑิต สาขาวิชาจารึกภาษาไทย คณะโบราณคดี บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร

Keywords:

ประเพณี, วรรณกรรม, สุวรรณเศียร

Abstract

Suwannasian, Omlomtomkham, and Thaohua are found in central region, northern region, and northeastern region, respectively. All of these literatures originate from SuwannasirasaJataka. Thus, these literatures are similar in term of plot and theme with some variations in smaller details such as characters, settings, and situations. These details were changed in order to make the literatures more suitable for regions.

These 3 literatures play important roles as a form of entertainment and a mean to convey social code of conduct to community members. Thaohua is the most notable case because of it popularity. Omlomtomkham is less popular but it is used frequently in Buddhist sermon. Suwannasian is also likely to be recited among people. In case of social aspects which are presents in literatures, these aspects can be similar or different depend on the characteristics of each communities and historical facts such as the overseas trade in early Rattanakosin era, mentions in Suwannasian.

 

References

กรมศิลปากร. เรื่องกฎหมายตราสามดวง. กรุงเทพมหานคร : ห้างหุ้นส่วนจำกัดอุดมศึกษา, 2521.

กระทรวงพาณิชย์. เส้นทางการค้าไทย. กรุงเทพมหานคร : อุดมศึกษา, 2543. (พิมพ์เป็นที่ระลึกเนื่องในวันสถาปนากระทรวงพาณิชย์ครบรอบ 80 ปี 20 สิงหาคม 2543).

เครือมาศ วุฒิการณ์. ชีวิต ศรัทธา และผืนผ้า : การสืบทอดความรู้เรื่องผ้าทอ อำเภอแม่แจ่ม จังหวัดเชียงใหม่ [Online]. Accessed 15 November 2005. Available from www.khonnaruk.com/html/verandah/womar/maecham.html.

ทิพวัน บุญวีระ. การศึกษาวิเคราะห์วรรณกรรมเรื่องอิทธิพลกลอนอ่านในนิทานคำกลอนของสุนทรภู่. กรุงเทพมหานคร : กองวรรณกรรมและประวัติศาสตร์กรมศิลปากร, 2541.

ธวัช ปุณโณทก. "ลักษณะของวรรณกรรมภาดเหนือ และวรรณกรรมอีสานเชิงเปรียบเทียบ." ใน รายงานการสัมมนาทางวิชาการ เรื่องวรรณกรรมลานนาเล่ม 1, 248-286. เชียงใหม่ : โครงการตำรามหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 2527.

นิธิ เอียวศรีวงศ์. "วัฒนธรรมกระฎุมพืกับวรรณกรรมตันรัตนโกสินทร์." เอกสารวิชาการหมายเลข 20 เพื่อประกอบการสัมมนาเรื่องสองศตวรรษรัตนโกสินทร์ : ความเปลี่ยนแปลงของสังคมไทย จัดโดย สถาบันไทยคดีศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ สถาบันวิจัยจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สมาคมสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย 3-5 กุมภาพันธ์ 2525. (อัดสำเนา).

ประทีป ชุมพล. ตำราการศึกษายวนพ่ายโคลงดั้น. กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2542.

ม.ร.ว. แสงสูรย์ ลดาวัลย์. พระราชพิธีบรมราชาภิเษกสมัยกรุงรัตนโกสินทร์. กรุงเทพมหานคร : สำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี, 2527.

วราภรณ์ ทินานนท์. "การค้าสำเภาของไทยสมัยรัตนโกสินทร์ตอนตัน." วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาประวัติศาสตร์ บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2522.

สรัสวดี อ๋องสกุล. ประวัติศาสตร์ล้านนา. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพมหานคร : อมรินทร์, 2544.

สุจิตรา จรจิตร. มนุษย์กับวรรณกรรม. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร : โอเดียนสโตร์, 2547. องค์การศาสนาพราหมณ์-ฮินดู. ประวัติและหลักธรรมศาสนาพราหมณ์-ฮินดู. กรุงเทพมหานคร : สมาคมส่งเสริมวัฒนธรรมพราหมณ์ ฮินดู, 2525.

อ้อมจิต กันทาใจ. "น้ำตัน." ใน สารานุกรมวัฒนธรรมไทยภาคเหนือ เล่ม 2, กรุงเทพมหานคร : มูลนิธิสารานุกรมวัฒนธรรมไทย ธนาคารไทยพาณิชย์, 2542, 3231.

อุดม รุ่งเรืองศรี. พจนานุกรมล้านนา-ไทย ฉบับแม่ฟ้าหลวง. ภาควิชาภาษาไทย คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 2534.

Downloads