Infernal Scenes in Southern Thailand Game Board
Keywords:
Inferno Scenes, Tuad, Southern Thailand Folk GameAbstract
This study looks at the Inferno Scenes depicted in a Southern Thailand’s folk board game called “Tuad” and explains their distinctiveness; the paintings used in the game were based on Trai–Bhumi script’s cosmology. The study also analyzes the social context that influenced the paintings, whose subject matter was limited only to the Kāmabhumi (sensual realm) part of the Inferno Scene while neglecting the Rūpa-bhumi (form realm) and Arūpa-bhumi (formless realm). The results of this study show that these paintings were created by local artists and that the unique characteristics of these paintings are their illustrations of the Auxiliary Hells and the Major Hell scene as part of the Tuad game. In addition, the 25th Buddhist Century’s society maintained a belief in Metteyya Buddha as well as in heaven and hell. Thus, the game encouranged players to do good deeds following Buddha’s example, while the depiction of the Inferno Scene provided an important local story to warn people against undertaking sinister or malicious acts.
References
จุฑารัตน์ จิตโสภา, 2562. “จิตรกรรมในหนังสือบุด: ภาพสะท้อนความคิด สังคม และภูมิปัญญาช่าง ช่วงพุทธศตวรรษที่ 25.” วิทยานิพนธ์ปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาประวัติศาสตร์ศิลปะ ภาควิชาประวัติศาสตร์ศิลปะ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร.
ณาณัฐภูมิ สารรักษ์, 2561. “ปัญหาและอุปสรรคในการป้องกันและปราบปรามการพนันในประเทศไทยตามพระราชบัญญัติการพนัน พุทธศักราช 2478.” วิทยานิพนธ์ปริญญานิติศาสตรมหาบัณฑิต กลุ่มวิชากฎหมายอาญาและกระบวนการยุติธรรมทางอาญา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีปทุม.
บุญเตือน ศรีวรพจน์ และ ประสิทธิ์ แสงทับ, 2542. สมุดข่อย. กรุงเทพฯ: โครงการสืบสานมรดกวัฒนธรรมไทย.
พระธรรมปรีชา (แก้ว), 2520. ไตรภูมิโลกวินิจฉยกถา ฉบับที่ 2 (ไตรภูมิฉบับหลวง). กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร.
ราชบัณฑิตยสถาน, 2539. พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์อักษรเจริญทัศน์.
รุ่งโรจน์ ภิรมย์อนุกูล, 2552. “การศึกษาเชิงวิเคราะห์ที่มาของสมุดภาพไตรภูมิ.” วิทยานิพนธ์ปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาโบราณคดีสมัยประวัติศาสตร์ ภาควิชาโบราณคดี บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร.
วิไลพร วงศ์สุรักษ์, 2548. “จิตรกรรมเรื่องนรกภูมิในสมุดภาพไตรภูมิฉบับกรุงธนบุรี พุทธศักราช 2319.” สารนิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาประวัติศาสตร์ศิลปะ ภาควิชาประวัติศาสตร์ศิลปะ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร.
สมุดภาพไตรภูมิบุราณฉบับกรุงธนบุรี. 2525. กรุงเทพฯ: คณะกรรมการพิจารณาและจัดพิมพ์เอกสารทางประวัติศาสตร์ สำนักนายกรัฐมนตรี.
สารานุกรมวัฒนธรรมไทยภาคใต้ (ฉบับเพิ่มเติม) เล่ม 2. 2555. กรุงเทพฯ: มูลนิธิสารานุกรมไทย ธนาคารไทยพาณิชย์.
สุรเชษฐ์ แก้วสกุล, 2563. นักวิชาการท้องถิ่น. สัมภาษณ์, 15 พฤศจิกายน.
Downloads
Published
Issue
Section
License
บทความนี้เป็นผลงานของข้าพเจ้าแต่เพียงผู้เดียว และ/หรือเป็นผลงานของข้าพเจ้าและผู้ร่วมงาน ตามชื่อที่ระบุในบทความจริง และเป็นผลงานที่มิได้ถูกนำเสนอหรือตีพิมพ์ที่ใดมาก่อน