เถรวาทกับหินยานต่างกันอย่างไร

Main Article Content

บรรเจิด ชวลิตเรืองฤทธิ์, ดร.

บทคัดย่อ

“เถรวาทกับหินยานต่างกันอย่างไร” เป็นคำถามหนึ่งที่ผู้เขียนมักถามไถ่คนรอบข้างที่อยู่ในแวดวงการศึกษาพุทธศาสตร์อยู่เสมอ หลายคนตอบด้วยความมั่นใจว่า “เหมือนกัน ไม่แตกต่างกัน แต่หินยานเป็นคำที่มหายานใช้ดูแคลนเถรวาท
แต่แท้จริงแล้วคำตอบนี้ยังไม่ถูกต้องสมบูรณ์นัก เพราะเราอาจอนุโลมใช้คำว่า “เถรวาท” และ “หินยาน” แทนกันได้ในบริบทที่เกี่ยวข้องกับพระพุทธศาสนาในโลกปัจจุบันเท่านั้น หากเรายึดติดกับแนวคิดที่ว่า “เถรวาทกับหินยานเหมือนกัน” และนำมาใช้กับเหตุการณ์หรือเรื่องราวในอดีตก็อาจทำให้ความเข้าใจของเราที่มีต่อประวัติศาสตร์พระพุทธศาสนา รวมถึงความสัมพันธ์เชื่อมโยงระหว่างประวัติศาสตร์กับตัวเราผิดเพี้ยนไปได้ นี้เป็นสาเหตุสำคัญที่ทำให้ผู้เขียนหยิบยกประเด็นปัญหานี้ขึ้นมาเขียนเป็นบทความชิ้นนี้
“เถรวาทกับหินยานต่างกันอย่างไร” คำตอบที่ถูกต้องชัดเจน คือ เถรวาทเป็นนิกายหนึ่งในพระพุทธศาสนาฝ่ายหินยาน หรืออาจตอบให้สั้นกระชับได้อีกด้วยภาษาคณิตศาสตร์ว่า “เถรวาทเป็น subset ของหินยาน”


Article Details

How to Cite
ชวลิตเรืองฤทธิ์ บรรเจิด. 2018. “เถรวาทกับหินยานต่างกันอย่างไร”. ธรรมธารา 1 (1):55-96. https://so01.tci-thaijo.org/index.php/dhammadhara/article/view/160689.
บท
บทความวิชาการทางพระพุทธศาสนา
Bookmark and Share

References

Kathāvatthu-aṭṭhakathā. 1979. edited by N.A.Jayawickrama. London: PTS

Dīpavaṃsa: An Ancient Buddhist Historical Record. 2000. edited by Hermann Oldenberg. Oxford: PTS. (first printed. 1879)

Taishō-shinshū-daizōkyō 大正新脩大蔵経 (พระไตรปิฎกจีน ฉบับไทโชชินชูไดโซเคียว). 1924-1934. Tokyo: Daizōshuppansha.

BAREAU, André. 2013. The Buddhist Schools of the Small Vehicle. translated by Sara BoinWebb. edited by Andrew Skilton. London: Buddhist Society

DEEG, Max. 2012 “Sthavira, Thera and ‘*Sthaviravāda’ in Chinese Buddhist Sources.” How Theravāda is Theravāda? Exploring Buddhist Identites: 129-162, edited by Peter Skilling, Jason A. Carbine, Claudio Cicuzza, and Santi Pakdeekham. Chiang Mai: Silkworm Books.

GETHIN, Rupert. 2012. “Was Buddhaghosa a Theravādin? Buddhist Identity in the Pali Commentaries and Chronicles.” How Theravāda is Theravāda? Exploring Buddhist Identites. edited by Peter Skilling, Jason A. Carbine, Claudio Cicuzza, and Santi Pakdeekham. Chiang Mai: Silkworm Books.

HIRAKAWA, Akira (平川彰). 2000. Ritsuzō-no-kenkyū vol.2 Hirakawa-Akira-chosakushū #10 律蔵の研究 II・平川彰著作集 #10 (งานวิจัยพระวินัยปิฎก เล่ม 2 – รวมผลงานเขียนของฮิรากาวะ ลำดับที่ 10). Tokyo: Shunjūsha.

HIRAKAWA, Akira (平川彰). 2007. A History of Indian Buddhism. translated by Paul Groner. 2nd Indian ed. Delhi: Motilal Banarsidass.

HIRAKAWA, Akira (平川彰). 2008. Indo-bukkyōshi インド仏教史 vol.1 (ประวัติศาสตร์พระพุทธศาสนาอินเดีย

เล่ม 1). 17th ed. Tokyo: Shunjūsha.

KIMURA, Ryukan. 1978. A Historicsal Study of the terms Hinayāna and Mahāyāna and the Origin

of Mahāyāna Buddhism. New Delhi: Gayatri Offset.

LAMOTTE, Ètienne. 1988 History of Indian Buddhism. translated by Sara Boin-Webb. France: Peeters Publishers

OLDENBERG, Hermann. 2000. Dīpavaṃsa – An Ancient Buddhist Historical Record. Oxford: PTS. (first

printed. 1879)

PERREIRA, Todd LeRoy. 2012. “Whence Theravāda? The Modern Genealogy of an Ancient Term.” How

Theravāda is Theravāda? Exploring Buddhist Identites. edited by Peter Skilling, Jason A. Carbine, Claudio Cicuzza, and Santi Pakdeekham. Chiang Mai: Silkworm Books.

NORMAN, K.R. 1997. “Buddhism and Canonicity.” A Philological Approach to Buddhism: 131-148. London: University of London (SOAS).

SHIZUTANI, Masao (静谷正雄). 1978. Shōjō-bukkyōshi-no-kenkyū 小乗仏教史の研究 (งานวิจัยประวัติศาสตร์

พระพุทธศาสนาหินยาน). Kyoto: Hyakka’en.

SASAKI, Shizuka (佐々木閑). 1997a “A Study on the Origin of Mahāyāna Buddhism.” The Eastern Buddhist 30(1): 79-113.

SASAKI, Shizuka (佐々木閑). 1998. “Buha-bunpazu-no-hyōki-hōhō 部派分派図の表記方法 (วิธีเขียนแผนภาพ

การแบ่งนิกาย).” Indogaku-bukkyōgaku-kenkyū 印度学仏教学研究 47(1): 385-377.

SASAKI, Shizuka (佐々木閑). 2000. Indo-bukkyō-hen’i-ron インド仏教変移論 (ทฤษฎีการปรับตัวของพระพุทธ

ศาสนาอินเดีย). Tokyo: Daizōshuppansha.

SASAKI, Shizuka (佐々木閑). 2009. “A Basic Approach for Research on the Origins of Mahāyāna Buddhism.” Acta Asiatica 96: 25-46.

THANAVUDDHO BHIKKHU. 2003. “Shoki-bukkyō-ni-okeru-seiten-seiritsu-to-shugyō-taikei 初期仏教における聖典成立と修行体系 (กำเนิดพระไตรปิฎกและแนวปฏิบัติสู่การตรัสรู้ธรรมในพระพุทธศาสนายุคดั้งเดิม).” PhD diss., University of Tokyo.

TSUKAMOTO, Keishō (塚本啓祥). 1980. Shoki-bukkyō-kyōdanshi-no-kenkyū 初期仏教教団史の研究 (งานวิจัยประวัติศาสตร์คณะสงฆ์ในพระพุทธศาสนายุคต้น). 2nd ed. Kyoto: Heirakujishōten.

von HINÜBER, Oskar. 2008. A Handbook of Pāli Literature. 3rd Indian ed. New Delhi: Munshiram

Manoharlal.

ฉัตรสุมาลย์ กบิลสิงห์ (ภิกษุณีธัมมนันทา), แปล. 2553. คัมภีร์ทีปวงศ์. นครปฐม: มูลนิธิพุทธสาวิกา. (แปลจากฉบับแปลภาษาอังกฤษ Hermann Oldenberg, trans. 2001. Dipavamsa: Ancient Buddhist Historical Record. 3rd ed. New Delhi: Asian Educational Services.)

พระธรรมปิฎก (ป.อ.ปยุตฺโต). 2541. พุทธธรรม. พิมพ์ครั้งที่ 7.

อภิชัย โพธิ์ประสิทธิ์ศาสต์. 2551. พระพุทธศาสนามหายาน. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.