ปีก่อตั้งกนิษกศักราช
Main Article Content
บทคัดย่อ
ในปีที่พระเจ้า Kanishka แห่งราชวงศ์ Kushan ขึ้นครองราชย์ พระองค์ได้ทรงก่อตั้ง “กนิษกศักราช” ขึ้นเป็นปีศักราชใหม่และมีการใช้อย่างเป็นทางการต่อเนื่องยาวนานในอาณาจักรที่ครอบครอง การทราบตัวเลขปีก่อตั้งกนิษกศักราชนี้จะช่วยเป็นกุญแจดอกสำคัญที่เชื่อมโยงเหตุการณ์ต่าง ๆ ในอินเดียโดยเฉพาะช่วงกำเนิดพระพุทธศาสนามหายานได้เป็นอย่างดี แต่จากอดีตถึงปัจจุบันยังไม่มีหลักฐานใดที่ระบุแน่ชัดทำให้ยังไม่มีข้อสรุปตัวเลขปีที่ชัดเจน บทความนี้จึงได้นำเอาหลักฐานใหม่ที่มีรายงานการขุดค้นพบเพิ่มเติมรวมถึงหลักฐานทั้งหมดที่เกี่ยวข้องอันได้แก่ หลักฐานทางศิลาจารึก หลักฐานทางบันทึกประวัติศาสตร์จีน และหลักฐานอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง รวบรวมนำมาวิเคราะห์หาตัวเลขปีก่อตั้งศักราชนี้ใหม่ซึ่งได้ข้อสรุปว่า ปีที่น่าจะมีความเป็นไปได้มากที่สุดคือ ปี ค.ศ.134 = ปีกนิษกศักราชที่ 1
Article Details
ลิขสิทธิ์ สำนักการศึกษา วัดพระธรรมกาย
References
Basham, Arthur Llewellyn. 1957. “The Succession of the Line of Kanishka.” Bulletin of the School of Oriental and African Studies 20(1): 77-88.
Bhandarkar, Devadatta Ramakrishna. 1902. “A Kushana Stone Inscription and the Question about the Origin of the Saka Era.” Journal of the Bombay Branch of the Royal Asiatic Society 20: 269-302.
Cribbs, Joe. 1999. “The Early Kushan Kings.” Coins, Art and Chronology. edited by M.Alram and D.Klimburg-Salter. Vienna: Verlag der Osterreichischen Akademie der Wissenschaftern
Eggermont, Pierre Herman Leonard. 1968. “The Śaka Era and the Kaniṣka Era.” Papers on the Date of Kaniṣka. edited by A.L.Basham. Leiden.
Fleet, John Faithfull. 1903. “A Hitherto Unrecognised Kushaṇ King.” Journal of the Royal Asiatic Society 35(2): 325-335.
Gobl, Robert. 1968. “Numismatic Evidence Relating to the Date of Kaniska.” Papers on the Date of Kaniska. edited by A.L.Basham. Leiden.
Ghirshman, Roman. 1943/5. “Fouilles de Begram.” Journal Asiatique 234: 59-71.
Harmatta, Janos. 1994 “Languages and literature in the Kushan Empire.” History of Civilizations of Central Asia. France: Unesco.
Hadani, Ryotai (羽渓了諦). 1933. “Kanishika-ō-mondai-no-kaiketsu 迦膩色迦王問題の解決 (การไขปัญหาเกี่ยวกับพระเจ้ากนิษกะ).” Ryūkoku-gakuhō 龍谷学報 305: 31-62.
Jin, Chenshou et al. (晋陳寿撰). 1997. Nijūyonshi: San-guo-zhi 二十四史: 三国志 3 (บันทึก 24 ประวัติศาสตร์: ยุคสามก๊ก 3). Chūkashokyoku.
Kennedy, J. 1912. “The Secret of Kaniṣka.” Journal of the Royal Asiatic Society 44(3-4): 665-688, 981-1019.
Konow, Sten., and Vanwijk. 1927. “The Zeda inscription of the year 11.” Epigraphia Indica 19.
Konow, Sten. 1929. Corpus Inscriptionum Indicarum. Calcatta.
Kurisu, Michio (栗須礼夫). 1973. “Kanishuka 278 nen-setsu-nitsuite カニシュカ二七八年説について (ทฤษฎี 278 ปีของพระเจ้ากนิษกะ).” Indogaku-bukkyōgaku-kenkyū 印度学仏教学研究42: 339-342
Mukherjee, Bratindra Nath. 2004. Kushan Studies. Kolkata.
Narian, Awadh Kishore. 1960. “The Date of Kaniṣka.” Papers on the Date of Kaniṣka. edited by A.L.Basham. Leiden.
Nakamura, Hajime (中村元). 1997. Indoshi インド史Ⅲ (ประวัติศาสตร์อินเดีย เล่ม 3). Tokyo: Shunjūsha.
Oldenberg, Hermann. 1881. Zeitschrift fur Numismatik 8.
Odani Nakao (小谷仲男). 1996. Gandāra-bijutsu-to-kushan-ōchō ガンダーラ美術とクシャン王朝 (ศิลปะคันธาระและราชวงศ์กุษาณะ). Kyoto: Dōhōshashuppan.
Rowland, Benjamin. 1953. The Art and Architecture of India. London.
Sims-Williams, Nicholas., and Joe Cribbs. 1995/6. “A New Bactrian Inscription of Kanishka the Great.” Silk Road Art and Archeology 4: 75-142
Zeimal, Ella Vladislavovna. 1974. Central Asia in the Kushana Period 1. Moscow.