แนวโน้มและพัฒนาการทฤษฎีการกำเนิด ของพระพุทธศาสนามหายาน (1)

Main Article Content

พระมหาพงศ์ศักดิ์ ฐานิโย (คงคารัตนรักษ์)

บทคัดย่อ

     ในบทความนี้ ผู้เขียนได้กล่าวถึงงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการสืบค้นถึงต้นกำเนิดของพระพุทธศาสนามหายาน ซึ่งเมื่อพิจารณาถึงความสัมพันธ์ระหว่างพระพุทธศาสนามหายานและหินยานแล้ว มีความเป็นไปได้ในการกำเนิดอยู่ 2 ทาง ได้แก่ 1. พระพุทธศาสนามหายานมีต้นกำเนิดมาจากพระพุทธศาสนาฝ่ายหินยาน และ 2. พระพุทธศาสนามหายานกำเนิดขึ้นมาโดยไม่มีความเกี่ยวข้องใดๆ
กับพระพุทธศาสนาฝ่ายหินยานทั้งสิ้น


     ในช่วงหลายปีที่ผ่านมา งานวิจัยส่วนใหญ่ในโลกโน้มเอียงไปทิศทางว่า ต้นกำเนิดของพระพุทธศาสนามหายานมาจากฝ่ายหินยาน อย่างไรก็ตาม แม้จะมีการศึกษาวิจัยในเรื่องนี้มาอย่างยาวนาน แต่นักวิจัยก็ยังไม่สามารถได้ข้อสรุปที่สอดคล้องกันทั้งหมดของต้นกำเนิดพระพุทธศาสนามหายานได้ ซึ่งจุดนี้แสดงให้เห็นว่าพระพุทธศาสนามหายานนั้นอาจจะไม่ได้มีต้นกำเนิดที่มาจากจุดกำเนิดเพียงหนึ่งเดียว แต่เป็นปรากฏการณ์จากจุดกำเนิดหลายๆ จุดพร้อมๆ กันในสังคมยุคนั้น


     จากผลการศึกษาวิจัยของผู้เขียน ซึ่งอาศัยหลักฐานที่ไม่เกี่ยวข้องโดยตรงกับคัมภีร์ฝ่ายมหายาน อาทิ จารึกพระเจ้าอโศก พระวินัยปิฎก คัมภีร์อภิธรรม แสดงให้เห็นถึงจุดพลิกผันบางประการที่อาจนำไปสู่บทสรุปการกำเนิดขึ้นของพระพุทธศาสนามหายาน นั่นคือ การปรับเปลี่ยนนิยามความหมายของสังฆเภท และผลจากการปรับเปลี่ยนนี้ ทำให้หมู่สงฆ์ในพระพุทธศาสนายอมรับแนวคิดที่แตกต่างกันได้ตราบเท่าที่หมู่สงฆ์ยังคงทำสังฆกรรมร่วมกัน เมื่อโลกของพระพุทธศาสนาในยุคนั้นเริ่มมีแนวความคิดในการยอมรับแนวคิดที่แตกต่าง รวมถึงการตีความคำสอนในรูปแบบที่แตกต่างออกไป เมื่อเป็นเช่นนี้ ย่อมสามารถอธิบายได้ถึงปรากฏการณ์การกำเนิดขึ้นของพระพุทธศาสนามหายาน ซึ่งเกิดขึ้นจากจุดกำเนิดหลายๆ จุดพร้อมๆ กันภายในพระพุทธศาสนาฝ่ายหินยานได้

Article Details

How to Cite
ฐานิโย (คงคารัตนรักษ์) พระมหาพงศ์ศักดิ์. 2019. “แนวโน้มและพัฒนาการทฤษฎีการกำเนิด ของพระพุทธศาสนามหายาน (1)”. ธรรมธารา 5 (1):1-35. https://so01.tci-thaijo.org/index.php/dhammadhara/article/view/177634.
บท
บทความแปลจากภาษาต่างประเทศ
Bookmark and Share

References

BAREAU, André. 1955. Les sectes bouddhiques du Petit Véhicule. Saigon: Ecole française d'Extrême-Orient.

BRAARVIG, Jens, et al., ed. 2000. Manuscripts in the Schøyen Collection: Buddhist Manuscripts 1. Oslo: Hermes Publishing.

ENDŌ, Toshiichi (遠藤敏一). 1997. Buddha in Theravada Buddhism. Dehiwala: Buddhist Cultural Centre.

ENDŌ, Toshiichi (遠藤敏一). 2004. “Pāri chūshaku bunken ni arawareta Buddakan to sono suriranka teki henyō パーリ註釈文献に現れた仏陀観とそのスリランカ的変容 (ทรรศนะเกี่ยวกับพระพุทธเจ้าที่ปรากฏในอรรถกถาบาลีและการเปลี่ยนแปลงทรรศนะนั้นในศรีลังกา).” Bukkyōgaku kenkyū 仏教研究33: 33-50.

FUJITA, Kōtatsu (藤田宏逹). 2007. Jōdosanbukyō no kenkyū 浄土三部経の研究 (การศึกษาวิจัยพระสูตรไตรภาคของนิกายสุขาวดี). Tokyo: Iwanami Shoten.

HARRISON, Paul. 1987. “Who Gets to Ride in the Great Vehicle? Self-Image and Identity Among the Followers of the Early Mahāyāna.” Journal of the International Association of Buddhist Studies 10 (1): 67-89.

HARRISON, Paul. 1995a. “Searching for the Origins of the Mahāyāna: What Are We Looking For?” The Eastern Buddhist (New Series) 28 (1): 48-69.

HARRISON, Paul. 1995b. “Some Reflections on the Personality of the Buddha.” Ōtani Gakuhō 大谷学報 74 (4): 1-28.

HARRISON, Paul. 2003. “Mediums and Messages: Reflections on the Production of Mahāyāna Sūtras.” The Eastern Buddhist (New Series) 35 (1/2): 115-151.

HAKAMAYA, Noriaki (袴谷憲昭). 2002. Bukkyō kyōdanshi ron 仏教教団史論 (ประวัติศาสตร์คณะสงฆ์ในพระพุทธศาสนา). Tokyo: Daizō Shuppan.

HIRAKAWA, Akira (平川彰). 1968. Shoki Daijō Bukkyō no kenkyū 初期大乗仏教の研究 (การศึกษาวิจัยพระพุทธศาสนามหายานยุคต้น). Tokyo: Shunjūsha. Revised edition in Hirakawa Akira chosakushū 平川彰著作集 (รวมผลงานเขียนของฮิรากาวะ) vol. 3 (1989) and vol. 4 (1990).

KATSUMOTO, Karen (勝本華蓮). 2006. “Bosatsu no butsudō shugyō: Nanden Shogyōzōkyō oyobi sono chūshaku o chūshin to suru haramitsu no kenkyū” 菩薩の仏道修行 南伝『所行蔵経』およびその註釈を中心とする波羅蜜の研究』(วิธีปฏิบัติเพื่อความเป็นพุทธะของพระโพธิสัตว์: การศึกษาวิจัยเรื่องบารมีในคัมภีร์จริยาปิฎกและอรรถกถาบาลี). Ph.D. diss., Hanazono University.

MIZUNO, Kōgen (水野弘元). 1964. Pāri Bukkyō o chūshin to shita Bukkyō no shinshiki ron パーリ仏教を中心とした仏教の心識論 (จิตในพระพุทธศาสนา กรณีศึกษาพระพุทธศาสนาสายบาลี). Tokyo: Sankibō Busshorin.

MORI, Sodō (森祖道). 1989. “Suriranka no Daijō Bukkyō ni tsuite スリランカの大乗仏教について (เกี่ยวกับพระพุทธศาสนามหายานในศรีลังกา).” Indogaku Bukkyōgaku kenkyū 印度学仏教学研究 38 (1): 425-420.

MORI, Sodō (森祖道). 1999. Mahāyāna Buddhism in Sri Lanka. Report published with a grant-in-aid from the Ministry of Education, Culture, Sports, Science and Technology. (The bibliography gives an exhaustive listing of previous research in this field, including Mori’s own research.)

MORI, Sodō (森祖道). 2006. “Suriranka Daijō Bukkyō kenkyū josetsu スリランカ大乗仏教研究序説 (ความนำในการศึกษาวิจัยพระพุทธศาสนามหายานในศรีลังกา).” Taishō daigaku sōgō Bukkyō kenkyūjo nenpō 大正大学綜合仏教研究所年報 28: 113-133.

NATTIER, Jan. 2003. A Few Good Men: The Bodhisattva Path According to the Inquiry of Ugra (Ugraparipṛcchā). Honolulu: University of Hawai‘i Press.

SAKURABE, Hajime (櫻部建), and Shunpei UEYAMA (上山春平). 1969. Bukkyō no shisō 2: sonzai no bunseki〈Abidaruma〉仏教思想 2: 存在の分析〈アビダルマ〉(แนวคิดในพระพุทธศาสนา 2: “อภิธรรม” วิเคราะห์สภาวะความมีอยู่). Tokyo: Kadokawa Shoten.

SASAKI, Shizuka (佐々木閑). 1989-1999. “Buddhist Sects in the Aśoka Period” (8 articles). Bukkyō kenkyū 仏教研究 18: 188-191 (1989), 21: 157-176 (1992), 22: 167-199 (1993), 23: 55-100 (1994), 24: 165-180 (1995), 25: 29-63 (1996), 27: 1-55 (1998), 28: 1-10 (1999).

SASAKI, Shizuka (佐々木閑). 1997. “A Study on the Origin of Mahāyāna Buddhism.” The Eastern Buddhist (New Series) 30 (1): 79-113.

SASAKI, Shizuka (佐々木閑). 1998. “Buha bunpa zu no hyōki hōhō 部派分派図の表記方法 (วิธีเขียนแผนภาพการแบ่งนิกายในพระพุทธศาสนา).” Indogaku Bukkyōgaku kenkyū 印度学仏教学研究 47 (1): 385-377.

SASAKI, Shizuka (佐々木閑). 2000. Indo Bukkyō hen’i ron: naze Bukkyō wa tayōka shita no ka インド仏教変移論: なぜ仏教は多様化したのか (การเปลี่ยนแปลงของพระพุทธศาสนาในอินเดีย: เหตุใดพระพุทธศาสนาจึงปรับไปสู่สภาพที่หลากหลาย). Tokyo: Daizō Shuppan.

SASAKI, Shizuka (佐々木閑). 2002a. “Buha Bukkyō no gainen ni kansuru isasaka kimyō na teigen 部派仏教の概念に関するいささか奇妙な提言 (ความเห็นที่ค่อนข้างแปลกเกี่ยวกับพระพุทธศาสนายุคแบ่งแยกนิกาย).” Sakurabe Hajime hakase kiju kinen ronshū: shoki Bukkyō kara Abidaruma e 櫻部建博士喜寿記念論集: 初期仏教からアビダルマへ (รวมผลงานวิจัยในวาระฉลองสิริอายุครบ 77 ปี ดร. ซากุระเบะ ฮาจิเมะ: จากพระพุทธศาสนายุคต้นถึงยุคอภิธรรม): 57-71, Kyoto: Heirakuji Shoten.

SASAKI, Shizuka (佐々木閑). 2002b. “Method of ‘Buddhist Sects in the Aśoka Period’.” Mori Sodō hakushi shōju kinen: Bukkyōgaku Indogaku ronshū 森祖道博士頌寿記念: 仏教学インド学論集 (รวบรวมผลงานวิจัยในวาระฉลองอายุวัฒนมงคล ดร. โมริ โซะโด: พุทธศาสตร์ศึกษาและอินเดียศึกษา): 311-333, Hamamatsu: Kokusai Bukkyōto Kyōkai.

SASAKI, Shizuka (佐々木閑). 2004. “Araṇya Dwellers in Buddhism.” Bukkyō kenkyū 仏教研究 32: 1-13.

SASAKI, Shizuka (佐々木閑). 2009. “A Basic Approach for Research on the Origins of Mahāyāna Buddhism.” Acta Asiatica 96: 25-46.

SASAKI, Shizuka (佐々木閑). 2011. “Daijō Bukkyō kigenron no tenbō” 大乗仏教起源論の展望 (มุมมองในการศึกษาการกำเนิดของพระพุทธศาสนามหายาน). Shirīzu Daijō Bukkyō 1: Daijō Bukkyō to wa nani ka シリーズ大乗仏教1: 大乗仏教とは何か (ซีรีส์พระพุทธศาสนามหายาน: 1 พระพุทธศาสนามหายานคืออะไร): 73-112. Tokyo: Shunjūsha.

SCHOPEN, Gregory. 1975. “The Phrase ‘sapṛthivīpradeśaś caityabhūto bhavet’ in the Vajracchedikā: Notes on the Cult of the Book in the Mahāyāna.” Indo-Iranian Journal 17: 147-181. Reprinted in id., Figments and Fragments of Mahāyāna Buddhism in India: More Collected Papers: 25-62. Honolulu: University of Hawai‘i Press (2005).

SCHOPEN, Gregory. 1979. “Mahāyāna in Indian Inscriptions.” Indo-Iranian Journal 21: 1-19. Reprinted in id., Figments and Fragments of Mahāyāna Buddhism in India: 223-246.

SCHOPEN, Gregory. 1985. “Two Problems in the Transference of Merit.” Studien zur Indologie und Iranistik 10: 9-47. Reprinted in id., Bones, Stones, and Buddhist Monks: Collected Papers on the Archaeology, Epigraphy, and Texts of Monastic Buddhism in India: 23-55. Honolulu: University of Hawai‘i Press (1997).

SCHOPEN, Gregory. 1987. “Burial Ad Sanctos and the Physical Presence of the Buddha in Early Indian Buddhism: A Study in the Archaeology of Religions.” Religion 17: 193-225. Reprinted in id., Bones, Stones, and Buddhist Monks: 114-147.

SCHOPEN, Gregory. 2000a. “The Mahāyāna and the Middle Period in Indian Buddhism: Through a Chinese Looking-Glass.” The Eastern Buddhist (New Series) 32 (2): 1-25. Reprinted in id., Figments and Fragments of Mahāyāna Buddhism in India: 3-24.

SCHOPEN, Gregory. 2000b. Daijō Bukkyō kōki jidai: Indo no sōin seikatsu 大乗仏教興起時代: インドの僧院生活 (ยุคสมัยที่พระพุทธศาสนามหายานถือกำเนิดขึ้น: วิถีชีวิตภายในอารามสงฆ์ของอินเดีย). Translated by ODANI, Nobuchiyo (小谷信千代). Tokyo: Shunjūsha.

SILK, Jonathan. 1994a. “The Origins and Early History of the Mahāratnakūṭa Tradition of Mahāyāna Buddhism with a Study of the Ratnarāśisūtra and Related Materials.” Ph.D. diss., University of Michigan.

SILK, Jonathan. 1994b. “The Victorian Creation of Buddhism.” Journal of Indian Philosophy 22: 171-196.

SILK, Jonathan. 2002. “What, If Anything, Is Mahāyāna Buddhism? Problems of Definitions and Classifications.” Numen 49 (4): 355-405. Reprinted in Paul Williams, ed., Buddhism: Critical Concepts in Religious Studies 3: The Origins and Nature of Mahāyāna Buddhism: Some Mahāyāna Religious Topics: 368-404. London: Routledge (2005).

SILK, Jonathan. 2008. Managing Monks: Administrators and Administrative Roles in Indian Buddhist Monasticism. Oxford: Oxford University Press.

SHIMODA, Masahiro (下田正弘). 1997. Nehangyō no kenkyū: Daijō kyōten no kenkyū hōhō shiron 涅槃経の研究: 大乗経典の研究方法試論 (การศึกษาวิจัยมหาปรินิพพานสูตร: วิธีการศึกษาวิจัยคัมภีร์พระพุทธศาสนามหายาน). Tokyo: Shunjūsha.

SHIMODA, Masahiro (下田正弘). 2009. “The State of Research on Mahāyāna Buddhism: The Mahāyāna as Seen in Developments in the Study of Mahāyāna Sūtras.” Acta Asiatica 96: 1-23.

TSUKAMOTO, Keishō (塚本啓祥). 1966. Kaitei zōho shoki Bukkyō kyōdan shi no kenkyū 改訂増補初期仏教教団史の研究 (การศึกษาวิจัยประวัติศาสตร์คณะสงฆ์ในพระพุทธศาสนายุคต้น ฉบับปรับปรุง). Tokyo: Sankibō Busshorin.

WATANABE, Shōgo (渡辺章悟). 2010. “Daijō kyōdan no nazo 大乗教団のなぞ (ปริศนาของพุทธบริษัทมหายาน).” Shin Ajia Bukkyō shi 02 Indo II: Bukkyō no keisei to tenkai 新アジア仏教史 02 インド II: 仏教の形成と展開 (ประวัติศาสตร์พระพุทธศาสตร์ในเอเชียฉบับใหม่ 02 อินเดีย II: การก่อกำเนิดและวิวัฒนาการของพระพุทธศาสนา): 171-202, Kōsei Shuppan.