กระบวนการสร้างบทละครเวทีไทยสมัยใหม่

ผู้แต่ง

  • ยุทธนา บุญอาชาทอง อาจารย์ประจำสาขาการสื่อสารการแสดงดิจิทัล มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์

คำสำคัญ:

การเขียนบทละคร, การเขียนบทละครเวที, กระบวนการคิดสร้างสรรค์, เทคนิคการเขียนบทละครเวที

บทคัดย่อ

วิจัยครั้งนี้ศึกษาเรื่อง กระบวนการสร้างบทละครเวทีไทยสมัยใหม่ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา กระบวนการคิดสร้างสรรค์ วิธีการเขียนบทละครเวที และเทคนิคเฉพาะบุคคลผู้เขียนบทละครเวที การวิจัยครั้งนี้เป็นวิจัยเชิงคุณภาพ โดยการสัมภาษณ์ผู้เขียนบทละครเวทีจำนวน 5 คน ที่มีผลงานต่อเนื่องมากกว่า 10 ปี ผลการวิจัยพบว่า การสร้างสรรค์บทละครเวทีมีการคิดจากบทดั่งเดิม และบทดัดแปลง มีความคิดมาจาก สิ่งที่เกิดรอบตัว เหตุการณ์ปัจจุบัน สังคม ประวัติศาสตร์ และจากตนเองโดยผู้เขียนบทมีเทคนิคเฉพาะบุคคล ทำให้เกิดเอกลักษณ์ของแต่ละบุคคล ซึ่งมีกระบวนการเขียนบทประกอบไปด้วย ความชอบแรงบันดาลใจ การอ่านบทประพันธ์ การหาข้อมูล การเขียนโครงเรื่อง โครงเรื่องขยาย การแสดงสด การซ้อม และบทแสดง

References

. กอบกุล อังคุทานนท์.(2537). ละครเวทีสมัยใหม่. กรุงเทพ: สำนักพิมพ์ฉัตร.
2. เขมิกา จินดาวงศ์. (2551). การวิเคราะห์โครงสร้างการเล่าเรื่อง ในภาพยนตร์ของอภิชาตพงศ์ วีระเศษฐกุล.
วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิตสาขาสื่อศิลปะและการออกแบบสื่อ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

3. นิกร แซ่ตั้ง. (2545). ทารกจกเปรต กับบทละครทั้ง 6. กรุงเทพ:ดีเอฟ ดิจิตัล พริ้นท์ติ้ง.

4. นราพร สังข์ชัย. (2551). การเขียนบทละครโทรทัศน์:กระบวนการคิดสร้างสรรค์และเทคนิค.
กรุงเทพ: สำนักพิมพ์ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย.

5. นพมาส แววหงษ์. (2550). ปริทัศน์ศิลปะการละคร.กรุงเทพฯ:สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

6. นับทอง ทองใบ.(2553). ศิลปวิจารณ์ รายการวิทยุโทรทัศน์. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยศรีปทุม.

7. พัชรินทร์ มหิทธิกร. (2551). สิงหไกรภพ: การศึกษาการดัดแปลงนิทานคำกลอนเป็นบทละคร
เวทีสมัยใหม่. วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปะศาสตร์มหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

8. พิชญา พิริยะประทานคุณ. (2556). ปัจจัยที่ผลต่อการเลือกชมโรงละครโรงเล็กในเขตกรุงเทพมหานคร.
บัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์,1-6.

9. พรรัตน์ ดำรง. (2547). การละครสำหรับเยาชน. สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย.

10. พรรณศักดิ์ สุขี. (2514). การเขียนบทละคร. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.

11. มัทนี รัตนิน. (2555). ศิลปะการแสดงละคร. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

12. ศิวาวุธ ไพรีพินาศ. (2557). กระบวนการสร้างบทอิงประวัติศาสตร์ในสื่อจินตคดีสมัยใหม่.
มหาวิทยาลัยธรุกิจบัณฑิตย์.

13. สมพร ฟูราจ. (2554). ศิลปะท่าทางและการเคลื่อนไหว. กรุงเทพ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

14. David Ball. (1988). Backward and Forwards. Chicago: Southern Illinois University Press.

15. Mattani Mojdara Rutnin. (1996). Dance Drama, and Theatre in Thailand. Bangkok : Silkworm Books.

16. Mark Fortier. (2002). Theory /Theater. New York: Rutledge.

17. Orson Scott Card. (1999). Character & Viewpoint. Cincinnati: Writer’s Digest Book.

18. Pat Cooper and Ken Dancyer. (1999). Writing the Short Film. Boston: Focal Press.

19. Will Dunne. (2009). The Dramatic writer’s companion. Chicago. The University of Chicago Press.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2019-02-25