พุทธวิถี (ไตรสกิขา) : กระบวนทัศน์ใหม่เพื่อการสร้างแบรนด์ อย่างยั่งยืนตามศาสตร์พระราชา

ผู้แต่ง

  • ว่าที่ร้อยตรีสมเกียรติ เหลืองศักดิ์ชัย นักศึกษาทุนระดับปริญญาเอก คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย
  • จันทิมา เขียวแก้ว อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์

คำสำคัญ:

พุทธวิถี, ไตรสิกขา, ศาสตร์พระราชา, ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง, การสร้างแบรนด์อย่างยั่งยืน, พุทธแบรนด์ดิ้ง, กระบวนทัศน์ใหม่

บทคัดย่อ

งานวิจัยเรื่องนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอกระบวนทัศน์ใหม่ในการสร้างแบรนด์ด้วยการบูรณาการแนวคิดพุทธวิถี (ไตรสิกขา) และ ศาสตร์พระราชา (ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง) มาเป็นรากฐานสำคัญเพื่อการสร้างแบรนด์อย่างยั่งยืน งานวิจัยนี้ใช้วิธีวิทยาการวิจัยด้วยการวิจัยผสมวิธี ได้แก่ 1) การวิเคราะห์เนื้อหาเชิงคุณภาพจากพระไตรปิฎก  2) การวิจัยเชิงอนาคตแบบ อี ดี เอฟ อาร์  3) การสำรวจความคิดเห็นผู้ประกอบการ (แบรนด์ธุรกิจ) ด้วยแบบสอบถาม ผลการวิจัยพบว่า 1. มีเนื้อหาที่เกี่ยวกับสถานการณ์การสร้างแบรนด์อย่างยั่งยืนตามศาสตร์พระราชาด้วยพุทธวิถี (ไตรสิกขา) ในพระไตรปิฎก  2. กลุ่มผู้เชี่ยวชาญมีความเห็นสอดคล้องกันในแต่ละรูปแบบที่เป็นอนาคตภาพของพุทธวิถี (ไตรสิกขา) : กระบวนทัศน์ใหม่เพื่อการสร้างแบรนด์อย่างยั่งยืนตามศาสตร์พระราชา  3. ผู้ประกอบการ (แบรนด์ธุรกิจ) ให้ความสำคัญกับรูปแบบที่เป็นอนาคตภาพอยู่ในระดับมากถึงระดับมากที่สุด นอกจากนี้ ยังพบอีกว่า การสร้างแบรนด์อย่างยั่งยืนตามศาสตร์พระราชาด้วยพุทธวิถี (ไตรสิกขา) หรือ “พุทธแบรนด์ดิ้ง” คือ “การสร้างบารมีธรรม”

Author Biography

ว่าที่ร้อยตรีสมเกียรติ เหลืองศักดิ์ชัย, นักศึกษาทุนระดับปริญญาเอก คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย

ช่องทางการติดต่อ: มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย 126/1 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงรัชดาภิเษก เขตดินแดง กรุงเทพมหานคร 10400

หรือ 081 279 6918

References

คณะกรรมการขับเคลื่อนสืบสานศาสตร์พระราชา. (2560). รายงานความคืบหน้าของคณะกรรมการ ขับเคลื่อนสืบสานศาสตร์พระราชา สภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ เรื่อง “การขับเคลื่อนสืบสาน ศาสตร์พระราชา”. สำนักกรรมาธิการ 1 สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร. สืบค้นเมื่อ 15 กันยายน 2562, จาก http://dl.parliament.go.th/handle/lirt/514171 หรือ https://goo.gl/KVD1Vu
จุมพล พูลภัทรชีวิน. (2559). “การวิจัยเชิงอนาคต (Futures Research)”. มหกรรมงานวิจัยแห่งชาติ 2559. ฝ่ายจัดการความรู้การวิจัย. กองประเมินผลและจัดการความรู้การวิจัย. สำนักงานคณะกรรมการ วิจัยแห่งชาติ. สืบค้นเมื่อ 15 กันยายน 2562, จาก http://rd.hu.ac.th/Download%20File/ เอกสาร%20วช/มหกรรมวิจัย%202016/TW%2099%20-%20การวิจัยเชิงอนาคต% 20(Futures%20Research).pdf
ณงลักษณ์ จารุวัฒน์. (2554). การตลาด 3.0 (แปลมาจาก Marketing 3.0). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ เนชั่นบุ๊คส์.
ศิริกุล เลากัยกุล. (2550). สร้างแบรนด์อย่างพอเพียง SUFFICIENCY BRANDING SUSTAINABLE BRAND. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ผู้จัดการรายสัปดาห์.
ศิริกุล เลากัยกุล. (2559). สร้างแบรนด์อย่าง พอแล้วดี. สืบค้นเมื่อ 15 กันยายน 2562, จาก https://porlaewdeethecreator.com/ebook/pldebook.pdf หรือ https://porlaewdeethecreator.com/
สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี. (2524). ทศบารมีในพุทธศาสนาเถรวาท.
วิทยานิพนธ์ปริญญาอักษรศาสตรมหาบัณฑิต. ภาควิชาภาษาตะวันออก.
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สืบค้นเมื่อ 5 มิถุนายน 2562, จาก http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/7077
สฤณี อาชวานันทกุล. (2553). ทุนนิยมสร้างสรรค์ แปลจากเรื่อง Creative Capitalism: A Conversation with Bill Gates, Warren Buffett, and Other Economic Leaders โดย Michael Kinsley. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์โอเพ่นเวิลด์ส. สืบค้นเมื่อ 15 กันยายน 2562, จาก http://openworlds.in.th/books/creative- capitalism/
สุชีพ ปุญญานุภาพ. (2560). พระไตรปิฎกฉบับสำหรับประชาชน ย่อความจากพระไตรปิฎกฉบับภาษาบาลี ๔๕ เล่ม ฉบับวาระ ๑๐๐ ปี ชาตกาล อาจารย์สุชีพ ปุญญานุภาพ. สืบค้นเมื่อ 15 กันยายน 2562, จาก http://ptripitaka.org/wp-content/uploads/The_Peoples_Tipitaka.pdf
อภิชัย พันธเสน. (2558). พุทธเศรษฐศาสตร์: วิวัฒนาการ ทฤษฎี และการประยุกต์กับเศรษฐศาสตร์สาขา ต่างๆ. พิมพ์ครั้งที่ 4 .กรุงเทพฯ: อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง.
Aaker, David A. (1996). Building Strong Brands. New York: Free Press.
Aaker, David A. (2010). Building Strong Brands. London: Simon & Schuster.
Aaker, D. A., & Joachimsthaler, E. (2000). Brand leadership. New York: The Free Press.
Kinsley, Michael. (2009). Creative Capitalism: A Conversation with Bill Gates, Warren Buffett, and Other Economic Leader. New York: Simon & Schuster Paperbacks. Retrieved 15 September 2019, from https://www.amazon.com/Creative-Capitalism-Conversation- Buffett- Economic/dp/1416599428
Kotler, Philip., Kartajaya, Hermawan., and Setiawan, Iwan. (2010). Marketing 3.0 From Products to Customers to the Human Spirit. Hoboken, New Jersey: John Wiley & Sons, Inc. Retrieved 15 September 2019, from http://manajemen-pemasaran.com/ katalogmanajemen/2010%20-%20(EBOOK)%20Marketing%2030-Hermawan %20KertajayaPhilip%20Kotler%20Hermawan%20Kartajaya%20Iwan%20Setiawan.pdf

Kuhn, S., Thomas. (1962). The Structure of Scientific Revolutions (1st ed.).
University of Chicago Press.
Kuhn, S., Thomas. (1970). The Structure of Scientific Revolutions (2nd ed.).
University of Chicago Press. Retrieved 15 September 2019, from https://projektintegracija.pravo.hr/_download/repository/Kuhn_Structure_of_Scientific _Revolutions.pdf
Schumacher, E.F. (1973). Small is beautiful, economics as if people mattered. London: Blond & Briggs. Retrieved 15 September 2019, from http://www.daastol.com/books/ Schumacher%20(1973)%20Small%20is%20Beautiful.pdf
Sexton, Don. (2008). Branding 101: How to Build the Most Valuable Asset of Any Business. New Jersey: John Wiley & Sons, Inc.
Erdil, Tayyip, Sabri. (2013). “Strategic brand management based on sustainable–oriented view: an evaluation in Turkish home appliance industry”. Procedia of Social and Behavioral Sciences 99, 9th International Strategic Management Conference, pp.122– 132. Elsevier Science Ltd., doi:10.1016/j.sbspro.2013.10.478. Retrieved 15 September 2019, from https://www.sciencedirect.com/science/article/pii/S1877042813039232

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2019-12-01