การสื่อสารอย่างไม่เป็นทางการในการแต่งหน้าของ “เนสตี้ สไปร์ทซี่” ผ่านเฟซบุ๊ก ไลฟ์

ผู้แต่ง

  • กฤษณ์ คำนนท์ มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ (SiSaKetRajabhat University): 319 ถนนไทยพันทา ต.โพธิ์ อ.เมืองศรีษะเกษ จ.ศรีสะเกษ 3300 http://orcid.org/0000-0002-3027-2723

คำสำคัญ:

การสื่อสารอย่างไม่เป็นทางการ, ตัวตนของการสื่อสาร, การแต่งหน้า, ยุคดิจิทัล

บทคัดย่อ

บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์วิธีการสื่อสารจากการใช้บทเปิด (Improvisation) ในการถ่ายทอดสดของ “บิวตี้ บล็อกเกอร์” ในยุคดิจิทัล ซึ่งเป็นกระบวนการที่มีลักษณะไม่เป็นทางการ (informalization) และลักษณะความสัมพันธ์ขององค์ประกอบของการสื่อสารที่มีบทบาทในการจัดการความหมายของการแต่งหน้า“บิวตี้ บล็อกเกอร์” ให้เกิดขึ้นในยุคดิจิทัล ผลการศึกษาพบว่าลักษณะการใช้บทเปิดที่ปรากฏในการถ่ายทอดสดของ “บิวตี้ บล็อกเกอร์” คือ การใช้บทเปิดของคำพูด การใช้บทเปิดของน้ำเสียง และการใช้บทเปิดของท่าทาง ทั้งนี้ยังในการสื่อความหมายแต่งหน้า “บิวตี้ บล็อกเกอร์” สามารถนำเสนอความคิดสร้างสรรค์ตามจินตนาการของตนเอง (Convergence Selectivity) และมีส่วนหนึ่งถูกควบคุมทางสังคม (Social Control) นอกจากนั้นยังพบว่า ได้เกิดการควบรวมทางการสื่อสาร (Convergence communication) โดยองค์ประกอบของการสื่อสารสามารถสวมสลับบทบาทกันในจัดการความหมายของการแต่งหน้า“บิวตี้ บล็อกเกอร์” ในยุคดิจิทัล

References

บรรณานุกรม
ภาษาไทย
กาญจนา แก้วเทพ. (2545). สื่อบันเทิง : อำนาจแห่งความไร้สาระ. กรุงเทพฯ: ออล อเบ้าท์ พริ้นท์.
_____________. (2552). การวิเคราะห์สื่อ แนวคิดและเทคนิค. กรุงเทพฯ: ภาพพิมพ์.
กาญจนา แก้วเทพ และนิคม ชัยขุนพล. (2555). คู่มือสื่อใหม่ศึกษา. กรุงเทพฯ: ภาพพิมพ์.
กฤษณ์ ทองเลิศ. (2545) การผสานรูปแบบ การสื่อความหมายและจินตสาระของผู้รับสารเป้าหมายที่มีต่องานภาพถ่ายกับลายลักษณ์อักษรในงานโฆษณาทางสื่อสิ่งพิมพ์. วิทยานิพนธ์ปริญญานิเทศศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขานิเทศศาสตร์ คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ไชยรัตน์ เจริญสินโอฬาร. (2554). แนะนำสกุลความคิดหลังโครงสร้างนิยม. กรุงเทพฯ : สมมติ.
ญาณีนุช มีลาภ. (2552). การสื่อสารอย่างไม่เป็นทางการในรายการ "ไก่คุ้ยตุ่นเขี่ย". วิทยานิพนธ์ปริญญานิเทศศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการสื่อสารมวลชน คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ถมทอง ทองนอก. (2560). เพิ่มขึ้นและเปลี่ยนไป: บทบาทหน้าที่ของบรรณาธิการความงามนิตยสารไทยช่วงขาลง. วารสารศาสตร์, 10(3), 65-95.
ปวีณา ชิ้นศุภร. (2562). คุณลักษณะของผู้มีอิทธิพลทางความคิดระดับจุลภาคบนอินสตาแกรมในกลุ่มสินค้าคลีนความผูกพันต่อเนื้อหา และความตั้งใจซื้อของสตรีวัยเริ่มต้นทำงาน.วิทยานิพนธ์ปริญญานิเทศศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชานิเทศศาสตร์ คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ปาณมุก บุญญพิเชษฐ (2554). การออกแบบสารในการประชาสัมพันธ์การตลาดผ่านเฟซบุ๊กแฟนเพ็จของกลุ่มเครื่องสำอางตราสินค้าหรู. วิทยานิพนธ์ปริญญานิเทศศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชานิเทศศาสตร์ คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
พรรณวดี ประยงค์. (2559). เรื่องของ “ตัวตน” บนโลกของเว็บไซต์โซเชียลเน็ตเวิร์ก: ขอบเขตของ “ตัวตนที่ปรารถนา” และ “ตัวตนที่เป็นจริง”. วารสารศาสตร์, 9(1), 7-32.
ภัสสร ปราชญากูล และนภวรรณ ตันติเวชกุล. (2563). ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับความสำเร็จในการสร้างและสื่อสารตราสินค้าบุคคลของ ผู้มีอิทธิพลออนไลน์ไทยบนเฟซบุ๊กแฟนเพจ. วารสารนิเทศศาสตรปริทัศน์, 24(1), 196-209.
ศิริชัย ศิริกายะ. (2559). ทฤษฎีควอนตัมฟิสิกส์กับการควบรวมและการแปลงรูปองค์ประกอบการสื่อสารในยุคดิจิทัล. วารสารนิเทศสยามปริทัศน์, 15(19), 7-9.
สาธิดา เตชะภัทรพร. (2541). บทบาทของการแต่งหน้าในฐานะเป็นส่วนขยายความรู้สึกทางด้านจิตใจในสื่อวิทยุโทรทัศน์. วิทยานิพนธ์ปริญญานิเทศศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการสื่อสารมวลชน คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สุรพงษ์ โสธนะเสถียร. (2559). ทฤษฎีการสื่อสาร. กรุงเทพฯ: ระเบียงทอง.
สมเกียรติ ศรีเพ็ชร. (2559). รหัสของสติ๊กเกอร์ไลน์ยอดนิยมเพื่อการสื่อสารระหว่างบุคคล. วิทยานิพนธ์ปริญญานิเทศศาสตรมหาบัณฑิต สาขานิเทศศาสตร์ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยสยาม.
สำราญ แสงเดือนฉาย และคณะ. (2560). รหัสภาษากายของภาพทศบารมีในงานจิตรกรรมฝาผนังไทย แบบประเพณีสมัยรัชกาลที่ 3. วารสารนิเทศศาสตรปริทัศน์, 21(พิเศษ), 94-112.

ภาษาอังกฤษ
Barker, L. and Gaut, D. (2002). Communication. Boston: Allyn and Bacon.
Burton, G. (2002). More Than Meets the Eyes: An Introduction to Media Studies. New York: Arnold.
Carey, J. W. (1975). A Cultural Approach to Communication. Communication, (2), 1-22.
Debord, G. (1994). The Society of the Spectacle. translation by Donald Nicholson-Smith. New York: Zone Books.
Genette, G. (1997). Paratexts : thresholds of interpretation. (Translated by Jane E. Lewin). New York: Cambridge University Press.
Fiske, J. (1990). Introduction to Communication Studies. London and New York: Routledge.
Horton, Paul B. and Hunt, Chester L. (1984). Sociology. Edition: 6th ed. Johannesburg : McGraw-Hill International
Kelly, J. R. (1996). Leisure. Boston: Allyn and Bacon.
Kurokawa, K. (1997). The Philosophy of Symbiosis. London: Kodansha International.
McLuhan, M. (1964). Understanding media: The extensions of man. New York: McGraw-Hill.
Rheingold, H. (1999). “A Slide of Life in My Virtual Community”. in L.M. Harasim (ed.), Global Networks. Computers and International Communication. Cambridge. MA: MIT Press.
Sartre, Jean-Paul. (1943). Being And Nothingness: An Essay in Phenomenological Ontology. New York : Philosophical Library.
Stephenson, W. (1968). The Play Theory of Mass Communication. Chicago: University of Chicago Press.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2021-12-03