การสื่อสารของผู้นำในภาวะวิกฤติการแพร่ระบาดของโควิด 19 ในประเทศไทย
คำสำคัญ:
การสื่อสารของผู้นำ, การสื่อสารในภาวะวิกฤติ, โควิด 19, การแพร่ระบาดบทคัดย่อ
บทความนี้เป็นงานศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพ ใช้โมเดลการสื่อสารในภาวะวิกฤติและความเสี่ยงฉุกเฉิน (Crisis and Emergency Risk Communication: CERC) เป็นกรอบการวิเคราะห์ เพื่อศึกษาคุณลักษณะและเนื้อหาการสื่อของผู้นำไทยในภาวะวิกฤติการแพร่ระบาดของโควิด 19 และศึกษาความสอดคล้องของเนื้อหาการสื่อสารของผู้นำในภาวะวิกฤติการแพร่ระบาดของโควิด 19 ในประเทศไทยกับสถานการณ์การแพร่ระบาด บริบททางสังคม และมาตรการการบริหารจัดการสถานการณ์การแพร่ระบาดของรัฐบาล ขอบเขตเนื้อหาคือแถลงการณ์ของนายกรัฐมนตรีที่ออกอากาศทางโทรทัศน์รวมการเฉพาะกิจแห่งประเทศไทย ระหว่างวันที่ 13 มกราคม พ.ศ. 2563 - 10 มีนาคม พ.ศ. 2565 และสัมภาษณ์เชิงลึกนักวิชาชีพประชาสัมพันธ์ 5 ท่าน ผลการศึกษาพบว่าประเด็นภายใต้กรอบ CERC ที่มีเนื้อหาน้อยที่สุดในการสื่อสารของผู้นำคือ “การวิจัยทางการแพทย์” ประเด็นที่พบมากสุดคือ “การรายงานสถานการณ์” และพบว่าเนื้อหาการสื่อสารของผู้นำมีความสอดคล้องกับมาตรการบริหารจัดการสถานการณ์การแพร่ระบาดของรัฐบาลมากกว่าสถานการณ์การแพร่ระบาด และบริบททางสังคมในขณะนั้น
References
กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ. (2551). การสื่อสารและการบริหารจัดการในภาวะวิกฤติ. นนทบุรี: พิมพ์ลักษณ์.
กองบรรณาธิการไทยรัฐออนไลน์. (2563, 3 เมษายน). จับอีก 7 ราย ขายหน้ากากอนามัย แอลกอฮอล์ แพงเกินจริง ไม่ติดป้ายราคา. Thairath Money. https://www.thairath.co.th/money/economics/thailand_econ/1811788
การดำเนินการของ วช. ต่อ COVID-19. (2563, 31 มีนาคม). วช. https://COVID19.nrct.go.th/wp-content/uploads/2022/03/31-%E0%B8%A1%E0%B8%B5.%E0%B8%84-63.pdf
จิรวัฒน์ สุริยะโชติชยางกูล. (2563, 31 มกราคม). บทเรียนสภาวะผู้นำในสถานการณ์วิกฤติโควิด–19. TDRI https://tdri.or.th/2020/01/COVID-1/
ลัดดา ประสาร (2021). 3 ชุดคำถามฉายภาพการสื่อสารของรัฐบาลไทยกับการตอบสนองต่อภาวะวิกฤตโรคอุบัติใหม่โควิด–19. วารสารพัฒนาศาสตร์, 4(1), 98-131. https://so05.tci-thaijo.org/index.php/gvc-tu/article/view/252521
วิภาวิน โมสูงเนิน. (2553). การสื่อสารสุขภาพของกระทรวงสาธารณสุขในกรณีการระบาดของโรคไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ 2009 [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์]. NIDA Wisdom Repository. http://repository.nida.ac.th/handle/662723737/726
สธ.ปรับระบบรายงานโควิดใหม่ ตั้งแต่ 1 มิ.ย. เป็นต้นไป นับเฉพาะผู้ป่วยแอดมิด. (2565, 31 พฤษภาคม). The Coverage. https://www.thecoverage.info/news/content/3554
WHO ยกย่องนายกฯ สิงคโปร์ เป็นผู้นำที่สื่อสารมีประสิทธิภาพที่สุดในวิกฤติโรคระบาด. บีบีซี นิวส์ ไทย. (2563, 12 กุมภาพันธ์). https://www.bbc.com/thai/international-51473478
Basnyat, I., & Lee, S. T. (2015). Framing of Influenza A (H1N1) pandemic in a Singaporean newspaper. Health promotion international, 30(4), 942–953. https://doi.org/10.1093/heapro/dau028
Coombs, W. T. (2018). Crisis communication: The best evidence from research. In R. P. Gephart, C. C. Miller, & K. S. Helgesson (Eds.), The routledge companion to risk, crisis and emergency management. Taylor & Francis.
Covello & MacCallum. (1989). Effective Risk Communication: The Role and Responsibility of Government and Nongovernment Organizations. New York: Plenum.
COVID-19 Strategic preparedness and response plan: Operation planning guidelines to support country preparedness and response. (2020, Febuary 1). WHO. https://www.who.int/docs/default-source/coronaviruse/COVID-19-sprp-operational-planning-guidelines-to-support-country-preparedness-and-response-(22may20).pdf
Liu, B. F., Ilesm, I. A., & Herovic, E. (2020). Leadership under fire: How governments manage crisis communication. Communication Studies, 71(1), 128-147. https://doi.org/10.1080/10510974.2019.1683593
Newsom, Turk, & Kruckerberg (2004). This is PR: The realities of public relations (8 ed.). Ontario: Thomson Wadsworth.
Reyes Bernard, N., Basit, A., Sofija, E., Phung, H., Lee, J., Rutherford, S., Sebar, B., Harris, N., Phung, D., & Wiseman, N. (2021). Analysis of crisis communication by the Prime Minister of Australia during the COVID-19 pandemic. International Journal of Disaster Risk Reduction, 62, Article 102375. https://doi.org/10.1016/j.ijdrr.2021.102375
Seeger, M., Sellnow, T., & Ulmer, R. (2001). Public relations and crisis communication: organizing and chaos. In Handbook of Public Relations (pp. 155-166). Sage. https://doi.org/10.4135/9781452220727
Tomkins, L. (2020). Where is Boris Johnson? When and why it matters that leaders show up in a crisis. Leadership, 16(3), 331-342. https://journals.sagepub.com/doi/10.1177/1742715020919657
UNAUSA. (2018). Working with the media-press conference. http://unausa.org/wp-content/uploads/2018/11/Working-with-the-Media-Press-Conference.pdf
Welch J., & Welch S. (2007). Winning (International ed.). HarperCollins.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2024 วารสารนิเทศศาสตร์ธุรกิจบัณฑิตย์
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
ลิขสิทธิ์เป็นของวารสาร....