การพัฒนาการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล: กรอบสู่ SDGs
Main Article Content
บทคัดย่อ
โลกกำลังเข้าสู่ยุคดิจิทัลทำให้องค์ความรู้ทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามามีบทบาทสำคัญในการดำเนินชีวิตของมนุษย์และทำให้รูปแบบการศึกษามีการเปลี่ยนแปลงเพื่อมุ่งสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน บทความนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อสำรวจแนวคิดการเรียนรู้และเสนอกรอบแนวคิดการเรียนรู้ในยุคดิจิทัลโดยให้ความสำคัญของเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน คือ เป้าหมายที่ 4 ที่มุ่งถึงการศึกษาสำหรับทุกคนอย่างมีคุณภาพและเท่าเทียมกันและส่งเสริมโอกาสทางการศึกษาตลอดชีวิตเพื่อปวงชน โดยย้ำถึงการพัฒนาการศึกษาให้มีความสอดคล้องกับบริบทโลกความจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องมีการปรับเปลี่ยนให้เท่าทันกับการเปลี่ยนแปลงสู่การศึกษาในยุคดิจิทัล ซึ่งเป็นการเรียนการสอนที่มีการนำเทคโนโลยีดิจิทัลเข้ามามีส่วนช่วยในการพัฒนาการเรียนรู้ มุ่งเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญและเตรียมพร้อมเพื่อเพิ่มทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 และสอดคล้องกับแนวทางการพัฒนาที่ยั่งยืน
Article Details
บทความ ข้อความ ภาพประกอบ ตารางประกอบ ที่ตีพิมพ์ในวารสารเป็นความคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เขียนแต่เพียงผู้เดียว ไม่เกี่ยวข้องกับมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชแต่อย่างใด
บทความที่เสนอพิจารณาในวารสาร e-JODIL ต้องเป็นบทความที่ไม่เคยส่งไปลงพิมพ์ เผยแพร่ หรืออยู่ระหว่างการพิจารณาของวารสารอื่น
กองบรรณาธิการขอสงวนสิทธิ์ในการพิจารณาและตัดสินการตีพิมพ์บทความในวารสาร
References
จินตวีร์ คล้ายสังข์. (2554). หลักการออกแบบเว็บไซต์ทางการศึกษา:ทฤษฎีสู่การปฏิบัติ. กรุงเทพฯ: สยามพริ้นท์ จำกัด.
เดชา หวังมี. (2550). ความต้องการในการเรียนรู้ตลอดชีวิตของประชาชนในชนบท: กรณีศึกษาจังหวัดพังงา (วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์. สงขลา.
ธิดา แซ่ชั้น และทัศนีย์ หมอสอน. (2559). การรู้ดิจิทัล: นิยาม องค์ประกอบ และสถานการณ์ในปัจจุบัน. วารสารสารสนเทศศาสตร์, 34(4), 116-145.
นิตยา สำเร็จผล. (2547). การพัฒนาตัวบ่งชี้การจัดการศึกษาเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต. (วิทยานิพนธ์การศึกษาดุษฎีบัณฑิต). มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. กรุงเทพฯ.
เบญจวรรณ ถนอมชยธวัช, ผ่องศรี วาณิชย์ศุภวงศ์, วุฒิชัย เนียมเทศ และณัฐวิทย์ พจนตันติ .(2559). ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21: ความท้าทายในการพัฒนานักศึกษา. วารสารเครือข่ายวิทยาลัยพยาบาลและการสาธารณสุขภาคใต้, 3(2), 208-222.
พรชนิตว์ ลีนาราช. (2560). ทักษะการรู้ดิจิทัลเพื่อพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้. วารสารห้องสมุด, 61(2), 76-92.
รุสนันท์ แก้วตา. (2556). การพัฒนาตัวชี้วัดลักษณะครูที่มีการเรียนรู้ตลอดชีวิต. (วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต).มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย.เชียงราย.
รสสุคนธ์ มกรมณี. (2550). การจัดการเรียนรู้เพื่อสร้างสรรค์ด้วยปัญญา. วารสารการศึกษาไทย, 4(32), 27-31.
วิจารณ์ พานิช. (2555). วิถีสร้างการเรียนรู้เพื่อศิษย์ ในศตวรรษที่ 21. กรุงเทพฯ: ตถาตา พับลิเคชั่น จำกัด.
วิจารณ์ พานิช. (2556). การสร้างการเรียนรู้สู่ศตวรรษที่ ๒๑. กรุงเทพฯ: ส. เจริญการพิมพ์.
วิจารณ์ พานิช. (2558). วิถีสร้างการเรียนรู้เพื่อศิษย์ ในศตวรรษที่ 21. วารสารนวัตกรรมการเรียนรู้, 1(2), 3-14.
วันวิสาข์ อังศุเกียรติถาวร. (2560). การเปรียบเทียบบทบาทที่เป็นจริงและบทบาทที่คาดหวังของผู้บริหารสถานศึกษาในการส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิตของครู สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 3. (วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต). พระนครศรีอยุธยา: มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา.
สยาม อรุณศรีมรกต และยงยุทธ วัชรดุลย์. (2559). เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน 17 ประการของสหประชาชาติเพื่อโลกอนาคต. วารสารวิจัยสหวิทยาการไทย, 11(3), 1-7.
สุนันท์ สีพาย และไพฑูรย์ สินลารัตน์. (2561). เปลี่ยนผ่านการศึกษาไทยสู่ การศึกษา 4.0. วารสารการวัดผลการศึกษา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 24(2), 13-27.
สุรเดช ศรทา. (2554). การพัฒนาแนวคิดทางวิทยาศาสตร์เรื่องระบบหมุนเวียนเลือดในคน ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โดยการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดคอนสตรักติวิซึม. (วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์. กรุงเทพฯ.
สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ. (ม.ป.ป.). การรู้ดิจิทัล (Digital literacy). สืบค้นจาก https://www.nstda.or.th/th/nstda-knowledge/142-knowledges/2632.
หทัยชนันบ์ กานต์การันยกุล. (2556). การพัฒนาชุดกิจกรรมการออกแบบทางศิลปะด้วยสมุดร่างภาพตามแนวคิดทฤษฎีคอนสตรัคติวิสซึม เพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ในนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4. (วิทยานิพนธ์ศิลปมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยศิลปากร. นครปฐม.
อติพร เกิดเรือง. (2560). การส่งเสริมการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 เพื่อรองรับสังคมไทยในยุคดิจิทัล. วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง, 6(1), 173-184.
อมรินทร์ อาพลพงษ์. (2559). การพัฒนาบทเรียนบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ตตามแนวทฤษฎี คอนสตรัคติวิสต์ เพื่อส่งเสริมความสามารถในการออกแบบและเทคโนโลยี ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ฝ่ายมัธยม. กรุงเทพฯ: กองทุนคณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
Bhattacharjee, J. (2015). Constructivist Approach to Learning An Effective Approach of Teaching Learning. International Research Journal of Interdisciplinary & Multidisciplinary Studies (IRJIMS), 1(6), 65-74.
Heick, T. (2015). 9 Characteristics Of 21st Century Learning. Retrieved from https://www.teachthought.com/learning-models/9-characteristics-of-21st-century-learning/
Nichols, J. R. (2019, 8 June). 4 Essential Rules Of 21st-Century Learning. Retrieved from https://teachthought. com/learning/4-essential-rules-of-21st-century-learning/
Siddiq, F., Gochyyev, P., & Wilson, M. (2017). Learning in Digital Networks – ICT Literacy: A Novel Assessment of Students' 21st Century Skills. Computers & Education, 109(2017), 11-37.