อิทธิพลของคุณภาพชีวิตในการทำงานที่มีต่อความตั้งใจคงอยู่ในงาน ผ่านความผูกพันในอาชีพของอาจารย์สถาบันอุดมศึกษาในกำกับของรัฐแห่งหนึ่ง

Main Article Content

ถิตรัตน์ พิมพาภรณ์
วิโรจน์ เจษฎาลักษณ์

บทคัดย่อ

                งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ คือ เพื่อศึกษาอิทธิพลของคุณภาพชีวิตในการทำงานในด้านความสมดุลระหว่างชีวิตกับการทำงาน ค่าตอบแทนและสวัสดิการต่อความตั้งใจคงอยู่ในงาน โดยผ่านการความผูกพันในอาชีพของอาจารย์สถาบันอุดมศึกษาในกำกับของรัฐ การวิจัยครั้งนี้ใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงปริมาณ โดยใช้แบบสอบถามกับกลุ่มตัวอย่าง คือ อาจารย์สถาบันอุดมศึกษาในกำกับของรัฐแห่งหนึ่ง จำนวน 155 คน แล้วนำข้อมูลมาวิเคราะห์หาความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรอิสระโดยใช้ค่าสหสัมพันธ์เพียร์สันและวิเคราะห์อิทธิพลของตัวแปรด้วยการถดถอยเชิงพหุ ผลการวิจัยพบว่า ความสมดุลชีวิตกับการทำงาน (β = 0.453) รวมทั้งค่าตอบแทนและสวัสดิการ (β=0.291) มีอิทธิพลเชิงบวกกับความผูกพันในอาชีพ  อีกทั้งความสมดุลชีวิตกับการทำงาน (β=0.359) ค่าตอบแทนและและสวัสดิการ (β=0.285) มีอิทธิพลเชิงบวกกับความตั้งใจคงอยู่ในงานเช่นกัน สำหรับการทดสอบตัวแปรกลาง พบว่า ความผูกพันในอาชีพเป็นตัวแปรกลางที่มีอิทธิพลระหว่างความสมดุลชีวิตกับการทำงาน (β=0.561) และค่าตอบแทนและสวัสดิการ (β=0.574) ต่อความตั้งใจคงอยู่ในงานอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 และได้มีการอภิปราย สรุปผล รวมทั้งเสนอแนะการวิจัยในอนาคต

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

กนกวรรณ ชูชีพ. (2551). คุณภาพชีวิตการทำงานของข้าราชการในจังหวัดชายแดนภาคใต้. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต ไม่ได้ตีพิมพ์). สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, กรุงเทพฯ.

กองบริการการศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. (2553). จรรยาบรรณอาจารย์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. กรุงเทพฯ: ปรีชากรณ์ อินเตอร์ปรินซ์.

กองสวัสดิการแรงงาน. (2547). คุณภาพชีวิตการทำงาน. อนุสารแรงงาน, 11(4), 17- 22.

จุฑารัตน์ บำรุงสุข (2547). ทิศทางการจัดสวัสดิการ นอกเหนือจาก ที่กฎหมาย กำหนดของสถานประกอบการในจังหวัด นครปฐม. (วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต สาขาการบริหารและนโยบายสวัสดิการสังคม ไม่ได้ตีพิมพ์). มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, กรุงเทพฯ.

ณัฏฐพันธ์ เขจรนันทน์ (2548). การจัดการทรัพยากรมนุษย์. กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชั่น

ธันย์ชนก ศรีสวัสดิ์. (2556). การศึกษาแนวทางปฏิบัติในการธำรงรักษาบุคลากรที่มีสมรรถนะสูง: กรณีศึกษาสำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สาขารัฐประศาสนศาสตร์ ไม่ได้ตีพิมพ์). มหาวิทยาลัยมหิดล, นครปฐม.

นิยม จับใจสุข. (2557). ความสัมพันธ์ระหว่างคุณภาพชีวิตการทางานกับแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของพนักงานการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค. วารสารอิเล็กทรอนิกส์การเรียนรู้ทางไกลเชิงนวัตกรรม, 4(1), 1-17 จาก e-jodil.stou.ac.th/filejodil/5_0.pdf.

บงกชพร ตั้งฉัตรชัย และคณะ. (2554). ปัจจัยทำนายการคงอยู่ในงานของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลศูนย์เขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ สังกัดกระทรวงสาธารณสุข. วารสารสภาการพยาบาล, 26(4), 43-54

ผจญ เฉลิมสาร. (2540). คุณภาพชีวิตการทํางาน. กรุงเทพฯ: โปรดักทิวิตี้เวิร์ด

“มาตรฐานภาระงานทางวิชาการของผู้ดำรงตำแหน่งอาจารย์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ รองศาสตราจารย์ และศาสตราจารย์ พ.ศ. 2558” (2558, 20 สิงหาคม). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 132 ตอนที่ 82 ง., หน้า 65 สืบค้นเมื่อ 26 พฤศจิกายน 2558 จาก http://www.moe.go.th/websm/2015/aug/274.html.

ศรัณย์ พิมพ์ทอง. (2555). ปัจจัยเชิงเหตุที่เกี่ยวข้องกับการคงอยู่ในองค์การของพนักงานมหาวิทยาลัยสายวิชาการ. รายงานการวิจัย, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล. (2551). คุณภาพชีวิตคนทำงานในภาคอุตสาหกรรมและภาคบริการ. นครปฐม: สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล.

สุชาติ ประสิทธิ์รัฐสินธุ์. (2545). สมองไหลจากระบบราชการไทยในวิกฤติอุดมศึกษาของไทยและทางออกของปัญหา. บรรณาธิการโดย กมลพรรณ แสงมหาชัย. กรุงเทพฯ: สำนักงานปลัดทบวงมหาวิทยาลัย.

สุมินทร เบ้าธรรม. (2556). ความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้คุณค่าของงาน ความผูกพันในวิชาชีพ และพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีของวิชาชีพของผู้สอบบัญชีภาษีอากรในประเทศไทย. วารสารวิทยาการจัดการ, 30(1), 115-141

สุธรรม อารีกุล. (2542). วิกฤตอุดมศึกษาไทยและทางออก: เอกภาพในเชิงนโยบายและการกระจายโอกาส. อนุสารอุดมศึกษา, 25(251), 13-16.

สุรางค์รัตน์ วศินารมณ์. (2540). สวัสดิการในองค์กรแนวคิดและวิธีการบริหาร. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

แสงทอง ปุระสุวรรณ์. (2541). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการคงอยู่ของพยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลชุมชน. (วิทยานิพนธ์พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต สาขาบริหารหารพยาบาล ไม่ได้ตีพิมพ์). มหาวิทยาลัย เชียงใหม่, เชียงใหม่.

สำนักพัฒนาระบบจำแนกตำแหน่งและค่าตอบแทน สำนักงาน ก.พ. (2556). ค่าตอบแทน. สืบค้นเมื่อ 25 พฤศจิกายน 2558 จาก www.ocsc.go.th.

บุญชม ศรีสะอาด. (2545). การวิจัยเบื้องต้น. (พิมพ์ครั้งที่ 7). กรุงเทพฯ: สุวีริยาสาส์น.

บุญใจ ศรีสถิตนรากูร. (2551). ภาวะผู้นำและกลยุทธ์การจัดการองค์การพยาบาล. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ปรียาพร วงศ์อนุตรโรจน์. (2543). จิตวิทยาการบริหารงานบุคคล. กรุงเทพฯ: ศูนย์สื่อเสริมกรุงเทพ.

อุษณีย์ รองพินิจ และสุวิมล ว่องวาณิช. (2556). การพัฒนาโมเดลเชิงสาเหตุของการคงอยู่ในงานอาชีพครูผ่านการยึดมั่นผูกพันกับงาน. วารสารอิเล็กทรอนิคส์ทางการศึกษา, 8(1), 1179-1191

Aryee, S. and Tan, K. (1992). Antecedents and outcomes of career commitment. Journal of Vocational Behavior, 40, 288-305.

Ahsana, N., Foonga, Y. P., Alamb, S. S., and Gun Fiea, D. Y. (2013). Relationship between retention factors and affective organisational commitment among knowledge workers in Malaysia. Journal of Business Economics and Management, 14(5), 903-922.

Baron, R. M. and Kenny, D. A. (1986). The modulator – mediator variable destination in social psychology research: conceptual, statistical consideration. Journal of Psychology and Social Psychology, 51, 1173-1182.

Bashir, S., and Ramay, M. I. (2008). Determinants of Organizational Commitment A Study of Information Technology Professionals in Pakistan. Journal of Behavioral & Applied Management, 9(2), 226-238.

Bidyut Bijoya Neog and Mukulesh Barua (2015). Factors Affecting Employee’s Retention in Automobile Service Workshops of Assam: An Empirical Study. The SIJ Transactions on Industrial, Financial & Business Management, 3(1), 9-18.

Blau, G. (1989). Testing generalizability of a career commitment measure and its impact on employee turnover. Journal of Vocational Behavior, 35: 88-103.

Chandranshu Sinha (2012). Factors Affecting Employee Retention: A Comparative Analysis of two Organizations from Heavy Engineering Industry. European Journal of Business and Management, 4(3), 145-162.

Eunmi Chang (1999). Career Commitment as a Complex Moderator of Organizational Commitment and Turnover Intention. Human Relations, 52(10), 1257-1278.

Emmanuel Erastus Yamoah (2014). Exploratory Analysis of Compensation and Employee Job Satisfaction. Developing Country Studies, 4(12), 27-35.

Huang. T.C., Lawler, J. and Lei, C.Y. (2007). The Effects of Quality of Work Life on Commitment and Turnover Intention. Social Behavior and Personality, 35(6), 735-750.

Jones, M. L., Zanko, M. and Kriflik, G. (2006). On the antecedents of career commitment. In J. Kennedy and L. Di Milia (Eds.), Proceedings of the Australian and New Zealand Academy of Management Conference (pp.1-22). Rockhampton, Australia: Australian and New Zealand Academy of Management.

Krejcie, R.V. and Morgan, D.W. (1970). Determining Sample Size for Research Activities. Educational and Psychological Measurement, 30(3), 607-610.

Lawler, Edward E. (1990). Compensation management; Strategic planning; Pay-for-knowledge Systems. San Francisco: Jossey-Bass Publishers.

Maslach, C., Schaufeli, W.B., and Leiter, M.P. (2001). Job burnout. Annual Review of Psychology, 52, 397-422.

Mitchell, T. R. and Albright, D. (1971). Expectancy Theory Predictions of Job Satisfaction, Job Effort, Job Performance, and Retention of Naval Aviation Officers. Organisational Research University of Washington Seattle, Washington, 71(17), 11-25.

Morrow, P. (1993). The Theory and Measurement of Work Commitment. Greenwich: Jay Press Ltd.,

Muhammad Irshad. (2011). Factors Affecting Employees Retentions. Abasyn Journal of Social Sciences, 4(1), 84-102.

Newstrom, J. W. and Davis, K. (1997). Organizational Behavior Human Behavior At Work. (10th Edition). US: Mcgraw-Hill Inc.

Rehman K. et. al. (2013). Impacts of Job Satisfaction on Organizational Commitment: A Theoretical Model for Academicians in HEI of Developing Countries like Pakistan. International Journal of Academic Research in Accounting, Finance and Management Sciences, 3(1), 80–89.

Schaufeli, W.B. et al. (2002). The measurement of engagement and burn out: A two-sample confirmatory factor analytic approach. Journal of Happiness Studies, 3, 71-93.

Şevket Yirik and Serap Babür (2014). A Study Aiming to Determine the Effect of Quality of Work Life Perception of Workers of Tourism Sector on Their Intention of Staying at Their Job. Mediterranean Journal of Social Sciences, 5(19), 54-61.

Society for Human Resource Management (2012). Employee Job Satisfaction and Engagement. A research report by SHRM. Retrieved December 6, 2016 from www.shrmstore.shrm.org.

Tyson J.S. and Aaron J.M. (2014). Perceived Work-Life Balance Ability, Job Satisfaction, and Professional Commitment among Agriculture Teachers. Journal of Agricultural Education, 55(4), 116-132.

William R. Pasewark and Ralph E. Viator. (2006). Sources of Work-Family Conflict in the Accounting Profession. Behavioral Research in Accounting, 18(1), 147-165.