การค้ามนุษย์ในประเทศไทย

Main Article Content

สรายุทธ ยหะกร

บทคัดย่อ

                      การค้ามนุษย์นับว่าเป็นปัญหาที่สำคัญสำหรับสังคมไทยและสังคมโลก เนื่องจากการค้ามนุษย์ถือเป็นการกระทำที่ละเมิดสิทธิความเป็นมนุษย์ ซึ่งถือเป็นประเด็นหลักที่สังคมโลกให้ความสำคัญ อีกทั้งการค้ามนุษย์ยังถือเป็นอาชญากรรมระหว่างประเทศ จึงเป็นปัญหาที่ทุกประเทศ รวมทั้งประเทศไทยต้องให้ความสำคัญและร่วมกันแก้ไขปัญหาดังกล่าว ประเทศไทย ได้รับผลกระทบโดยตรงจากปัญหาการค้ามนุษย์ โดยไทยถูกจัดให้อยู่ในระดับ Tier 3 จึงถือว่าเป็นประเทศที่มีสถานการณ์การค้ามนุษย์ในระดับเลวร้ายที่สุด

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ. (2555). ศัพท์สิทธิมนุษยชน. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ.

จรีย์วรรณ พุทธานุรักษ์ และคณะ (2550) “การค้ามนุษย์” พินิจในแนวสตรีนิยม ในพื้นที่ของอินเตอร์เน็ต กระบวนการทางกฎหมายและหน่วยงานภาครัฐ. ศูนย์สตรีศึกษา คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

โชติกา ชุ่มมี. (2558). ผลกระทบสหรัฐฯ ลดอันดับไทยสู่ระดับต่ำสุดการค้ามนุษย์ 2014. สืบค้น 2 กรกฎาคม 2558, จาก www.scbeic.com

ไทยรัฐออนไลน์. (2558). จำแนกประเภทการค้ามนุษย์. สืบค้น 6 กรกฎาคม 2558, จาก www.thairath.co.th

บันดาล บัวแดง และคณะ. (2556). การค้ามนุษย์ในโลกไร้พรมแดน. คณะกรรมการวิจัยแห่งชาติและบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยนเรศวร

สถานฑูตสหรัฐอเมริกา. (2557). รายงานสถานการณ์การค้ามนุษย์ประจำปี พ.ศ.2557. สืบค้น 6 กรกฎาคม 2558, จาก http://www. thai.bangkok.usembassy.gov/

สำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี. (2558). วารสารไทยคู่ฟ้า. เล่มที่ 22. กรุงเทพฯ: สำนักโฆษก สำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี.

แสงจันทร์ มาน้อย. (2557). การดำเนินงานของประเทศไทยในการต่อต้านการค้ามนุษย์. สำนักวิชาการ สำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา.

องค์การแรงงานระหว่างประเทศ. (2558). มาตรฐานแรงงานระหว่างประเทศว่า ด้วยสิทธิแรงงานข้ามชาติ (พิมพ์ครั้งที่ 1). กรุงเทพฯ.

อำนาจ เนตยสุภา. (2552). แนวคิดและทฤษฏีเกี่ยวกับการค้ามนุษย์ วารสารวิชาการนิติศาสตร์. มหาวิทยาลัยทักษิณ

Trafficking in Person Report (2014) Department of State. United State of America.

Trafficking in Person Report (2015) Department of State. United State of America.