การสื่อสารทางการตลาดผ่านการตลาดเชิงกิจกรรมสมัยใหม่เพื่อความยั่งยืนขององค์การ
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอปัจจัยการสื่อสารทางการตลาดผ่านการตลาดเชิงกิจกรรมสมัยใหม่ที่มีอิทธิพลต่อความยั่งยืนขององค์การ ซึ่งการใช้การตลาดเชิงกิจกรรมเพื่อเจาะกลุ่มลูกค้านับวันมีความแพร่หลาย แต่ปัญหาที่จะต้องพิจารณา และวางแผนอย่างรอบคอบ คือ การสร้างการตลาดเชิงกิจกรรมให้สอดคล้องกับความต้องการของลูกค้า และสามารถเผยแพร่ข่าวสารแก่คนส่วนใหญ่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ในขณะเดียวกันพฤติกรรมผู้บริโภคได้เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว กิจกรรมทางการตลาดมีการเคลื่อนไหวตลอดเวลา นักการตลาดในปัจจุบันจึงควรปรับใช้การตลาดเชิงกิจกรรมเพื่อให้เข้าถึงกลุ่มลูกค้าซึ่งมีความแตกต่างกันทั้งด้านรสนิยม กิจกรรม และการเลือกเปิดรับสื่อ การใช้การตลาดเชิงกิจกรรมจึงเป็นการเจาะกลุ่มผู้บริโภคเป้าหมาย เพื่อให้องค์การสามารถสนองความต้องการของผู้บริโภคได้อย่างแท้จริง อีกทั้งการสร้างคุณค่าของผู้บริโภคยุคใหม่จะเป็นจุดเปลี่ยนในการทำธุรกิจแบบผสานผลประโยชน์ระหว่างธุรกิจกับการพัฒนาเศรษฐกิจ ชุมชน สังคม และสิ่งแวดล้อมไปพร้อมกัน ซึ่งจะทำให้องค์การธุรกิจสามารถเจริญเติบโตอย่างยั่งยืน
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความ ข้อความ ภาพประกอบ ตารางประกอบ ที่ตีพิมพ์ในวารสารเป็นความคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เขียนแต่เพียงผู้เดียว ไม่เกี่ยวข้องกับมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชแต่อย่างใด
บทความที่เสนอพิจารณาในวารสาร e-JODIL ต้องเป็นบทความที่ไม่เคยส่งไปลงพิมพ์ เผยแพร่ หรืออยู่ระหว่างการพิจารณาของวารสารอื่น
กองบรรณาธิการขอสงวนสิทธิ์ในการพิจารณาและตัดสินการตีพิมพ์บทความในวารสาร
References
กัญญ์ตรัตน์ เชิดเกียรติกุล. (2560). การศึกษากระบวนการสื่อสารตลาดเชิงกิจกรรม กรณีศึกษา Cheeze Market. (วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต). คณะนิเทศศาสตร์และนวัตกรรมการจัดการ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. กรุงเทพฯ.
กานต์ธีรา พละบุตร. (2563). ความสามารถด้านนวัตกรรมเชิงกลยุทธ์ที่ส่งผลต่อความยั่งยืนขององค์กร: การศึกษาเชิงประจักษ์ของธุรกิจรถยนต์ในประเทศไทย. วารสารการบัญชีและการจัดการ, 12(3), 128-146.
ชัชชพันธ์ เล็กเจริญ. (2559). การตลาดเชิงประสบการณ์กับความภัคดีของผู้บริโภคในการชมการแสดงทอล์คโชว์. (วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต). คณะนิเทศศาสตร์และนวัตกรรมการจัดการ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. กรุงเทพฯ.
ฐนิชา คงประดิษฐ และปรีชา คำมาดี. (2563). การสร้างคุณค่าให้กับผู้บริโภคยุคใหม่ด้วยการตลาดเพื่อสังคม: ความยั่งยืนขององค์กรในยุคโลกาภิวัตน์. วารสารสถาบันวิจัยพิมลธรรม, 6(2), 81-92.
ณรงค์รัฐ ร่วมพรภาณุ. (2559). อิทธิพลของการตลาดเชิงกิจกรรม (Event marketing) ต่อการตัดสินใจเลือกเล่นเกมออนไลน์ ในเขตกรุงเทพมหานคร กรณีศึกษา เกม Dota 2 และ League of Legends. สืบค้นเมื่อ 23 ธันวาคม 2563, จาก http://dspace.bu.ac.th/handle/123456789/2093
ปทิตตา ภูวัฒนศิลป์ และวสุธิดา นุริตมนต์. (2560). การตลาดเชิงประสบการณ์และคุณภาพความสัมพันธ์ที่มีอิทธิพลต่อความภักดีของลูกค้าเบเกอรี่ร้านเอสแอนด์พีในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล. สุทธิปริทัศน์, 31(100), 58-71.
พิพัฒน์ ยอดพฤติการณ์. (2562). แนวคิดของผลิตภัณฑ์ 4.0. สืบค้นเมื่อ 30 ตุลาคม 2563, จาก https://www.smartsme.co.th/ content/218136
พิมลพรรณ จันทร์เจริญ และกิตติมา ชาญวิชัย. (2559). กลยุทธ์การสื่อสารการตลาดแบบบูรณาการเพื่อส่งเสริมการตลาดของสถาบันแนะแนว การศึกษาต่อต่างประเทศในจังหวัดเชียงใหม่ [ฉบับพิเศษ]. วารสารบริหารธุรกิจ เศรษฐศาสตร์และการสื่อสาร, 11, 73-86.
พิริยะ เงินศรีสุข และเสรี วงศ์มณฑา. (2563). แนวทางการพัฒนาการสื่อสารการตลาดแบบดิจิทัลสำหรับ นักท่องเที่ยว 4.0. วารสารรัชต์ภาคย์, 14(34), 316-324.
พีเพิลมีเดีย. (2563). รู้จัก 5 Marketing Concept แนวความคิดทางการตลาด โอกาสของผู้ประกอบการก้าวสู่ความสำเร็จ. สืบค้นเมื่อ 30 ตุลาคม 2563, จาก https://cheechongruay.smartsme.co.th/content/25341
ภัทรวดี เอี่ยมศุภโชค. (2561). การสื่อสารการตลาดแบบบูรณาการและส่วนประสมทางการตลาดที่มีผลต่อพฤติกรรมการตัดสินใจซื้อน้ำหอมปรับอากาศในรถยนต์ของพนักงานสถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3. สืบค้นเมื่อ 23 ธันวาคม 2563, จาก http://dspace.bu.ac.th/bitstream/123456789/3911/1/pattarawadee.iams.pdf
มุนินทร์ มุจจิลินท์วิมุติ และทรงพร หาญสันติ. (2563). ปัจจัยทางการตลาดผ่านโทรศัพท์เคลื่อนที่ (Mobile Marketing) ที่ส่งผลต่อความพึงพอใจของผู้ใช้บริการแอพพลิเคชั่นเคโมบายแบงก์กิ้งพลัส ของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร.วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยปทุมธานี, 12(1), 241-250.
ศุภกิตติ์ โพธิ์สุวรรณ. (2561). กลยุทธ์การตลาดเชิงกิจกรรม (Event Marketing) ที่ส่งผลต่อการเลือกเล่นกีฬาอิเล็กทรอนิกส์ (E-Sport) ของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร: กรณีศึกษา เกม ROV (การค้นคว้าอิสระบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต). สาขาบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ. กรุงเทพฯ.
ศุภรักษ์ อธิคมสุวรรณ. (2559). แบรนด์ทรัพยากรมนุษย์: สื่อกลางของการสร้างชื่อเสียงและความยั่งยืนขององค์กร. วารสาร มทรส. (มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์), 1(2), 246-254.
สุพัตรา คำแหง, ศิวารัตน์ ณ ปทุม, และปริญ ลักษิตามาศ. (2561). รูปแบบของปัจจัยความสำเร็จในการบริหารการตลาดสมัยใหม่ของผู้ประกอบการใหม่สู่ประเทศไทย 4.0. วารสารธรรมศาสตร์, 37(1), 1-18.
สรัญณี อุเส็นยาง. (2562). จริยธรรมทางธุรกิจ: แนวทางในการจัดการธุรกิจสู่ความยั่งยืน. วารสาร อัล-ฮิกมะฮฺ มหาวิทยาลัยฟาฏอนี, 9(18), 225-235.
Afzal, F., Shao, Y., Sajid, M., & Afzal, F. (2019). Market Sustainability: A Globalization and Consumer Culture Perspective in the Chinese Retail Market. Sustainability, 11(575), 1-24.
Chancharoen, P., & Chanvichai, K. (2016). An Integrated Marketing Communications Strategies for Marketing Promotion in International Education Agencies in Chiang Mai Province [special issue]. Journal of Business, Economics and Communications, 11, 73-86.
Cheba, K., Bak, I., & Szopik-Depczynska, K. (2020). Sustainable Competitiveness as a New Economic Category–Definition and Measurement Assessment. Technological and Economic Development of Economy, 26(6), 1399–1421.
Chiangmaichamber. (2020). กลยุทธ์การตลาด 4.0. Retrieved December 23, 2020, from http://chiangmaichamber.com/ กลยุทธ์การตลาดที่ได้ผล/กลยุทธ์การตลาด-4-0/
Claessens, M. (2018). Evolution of Marketing Theory – from Production to Marketing Orientation. Retrieved December 26, 2020, from https://marketing-insider.eu/evolution-of-marketing-theory/
Dadash, X. S. (2020).Digital Marketing a New Method of Modern Marketing. Economic and Social Development: Book of Proceedings, 4, 167-170.
Eshikumo, S. M., & Odock, S. O. (2017). Green Manufacturing and Operational Performance of a Firm: Case of Cement Manufacturing in Kenya. International Journal of Business and Social Science, 8(4), 106-120.
Instapage. (2020). What Is Event Marketing?. Retrieved October 20, 2020, from https://instapage.com/what-is-event-marketing
Ismailova, N. T., Abisheva, G. O., & Ismailova, D. T. (2019). The Role of Event-Marketing in Management. News of the National Academy of Sciences of the Republic of Kazakhstan, 6(328), 94-98.
Johnston, J. & Sheehan, M. (2020). Public Relations: Theory and Practice. NY: Routledge.
Kotler, P. & Keller, K. L. (2017). Marketing Management (15th ed.). Upper Saddle River, NJ: Pearson.
Kotler, P. (2019). Marketing Management. UK: Pearson.
Kotler, P., Kartajaya, H., & Setiawan, I. (2017). Marketing 4.0: Moving from Traditional to Digital. New Jersey: John Wiley & Sons.
Ladyzynski, P., Zbikowski, K., & Gawrysiak, P. (2019). Direct Marketing Campaigns in Retail Banking with the Use of Deep Learning and Random Forests. Expert Systems with Applications, 134(2019), 28-35.
Magamura. (2019). Knowledge about Sales and Marketing Concepts. Retrieved October 30, 2020, from https://krucharoon.in.th/home/?p=246
Marketo. (2020). What is Event Marketing?. Retrieved December 23, 2020, from https://www.marketo.com/ event-marketing/
Marrs, M. (2020). What Is Mobile Marketing & Why Does it Matter So Much?. Retrieved November 9, 2020, from https://www.wordstream.com/blog/ws/2013/08/19/what-is-mobile-marketing
Martketeer. (2019). Event Marketing Planning (Event Marketing) Part 1: Dr.Teeraphan Lothongkam. Retrieved November 1, 2020, from https://marketeeronline.co/archives/126894
Marketingoops. (2016). Brand Experience. Retrieved 30 October, 2020, from https://www.marketingoops.com /exclusive/how-to/brand-experience-the-way-to-gain-customer-loyalty/
Matharu, M., Jain, R., & Bulsara, H. (2020). Underpinning the Emergence of Sustainability Marketing: A Comprehensive Review of Literature & Future Research Agenda. Journal of Sustainability Science and Management, 15(6), 206-220.
Nadube, M. P. (2018). Understanding Integrated Marketing Communications (IMC): Concept, Definitions and Dimensions. International Journal of Innovations in Economic and Management Science, 8(2),
-15.
Pairoj, K. (2018). IMC คืออะไร? การสื่อสารการตลาดแบบบูรณาการ ทำอย่างไร. Retrieved December 23, 2020, from https://greedisgoods.com/imc-คือ-integrated-marketing-communication/
Pinchanokk. (2019). Organizers Should Know! New Trends in Event Marketing in 2020. Retrieved November 1, 2020, from https://www.zipeventapp.com/blog/2019/11/25/event-marketing-2020/
Pisicchio, A. C., & Toaldo, A. M. M. (2020). Integrated Marketing Communication in Hospitality SMEs: Analyzing the Antecedent Role of Innovation Orientation and the Effect on Market Performance. Retrieved December 23, 2020, from https://www.tandfonline.com/doi/abs/10.1080/13527266. 2020.1759121?journalCode=rjmc20
Pongsakornrungsilp, S., & Schroeder, J. E. (2017). How Consumers Co-Create. In Routledge Handbook on Consumption. UK: Routledge.
Pritchard, A., Cook, D., Jones, A., Bason, T., & Salisbury, P. (2020). Building a Brand Portfolio: The Case of English Football League (EFL) clubs. Retrieved October 21, 2020, from https://www.tandfonline. com/doi/abs/10.1080/16184742.2020.1802501?journalCode=resm20
Qazzafi, S. H. E. I. K. H. (2019). Consumer Buying Decision Process toward Products. International Journal of Scientific Research and Engineering Development, 2(5), 130-134.
Sharafutdinova, N. S., Xametova, N. G., Novikova, E. N., Shnorr, Z. P., & Rolbina, E. S. (2020, March). Event Marketing as an Effective Tool for Building Long-Term Customer Relationships. Retrieved October 21, 2020, from https://www.researchgate.net/publication/340552095_Event_Marketing_as_an_ Effective_Tool_for_Building_Long-Term_Customer_Relationships
Sorawit, B. (2016). Event Marketing. Retrieved 23 December, 2020 from https://prezi.com/zo6x_xkzf8wt/ event-marketing/
Sun, L., Zhai, X., & Yang, H. (2020). Event Marketing, Movie Consumers' Willingness and Box Office Revenue. Retrieved October 21, 2020, from https://www.emerald.com/insight/content/doi/10.1108/APJML-09-2019-0564/full/html
Tafesse, W. (2016). An Experiential Model of Consumer Engagement in Social Media. Journal of Product & Brand Management, 25(5), 424-434.
Tang, F., Givens, M. E., Xie, Q., & Raisanen, P. (2017). U.S. Patent No. 9,558,931. Washington, DC: U.S. Patent and Trademark Office.
The American Standard Association of advertising. (1998). What’s Advertising. New York: John Wiley & Sons.
Tourky, M., Alwi, S. F. S., Kitchen, P., Melewar, T. C., & Shaalan, A. (2020). New Conceptualization and Measurement of Corporate Identity: Evidence from UK Food and Beverage industry. Journal of Business Research, 109, 595-606.
Triebs, P. T., Saal, S. D., Arocena, P., & Kumbhakar, C. S. (2016). Estimating Economies of Scale and Scope with Flexible Technology. Journal of Productivity Analysis, 45(2016), 173-186.