การศึกษาเพื่อพัฒนาคุณธรรมตามหลักพุทธศาสนา
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความนี้ มุ่งนำเสนอการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาคุณธรรมโดยใช้หลักไตรสิกขา คือ ศีล สมาธิ ปัญญา ตามหลักคำสอนขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าซึ่งสอดคล้องกับพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติของประเทศไทยฉบับปัจจุบันที่มีผลบังคับใช้ ตั้งแต่ปี พ.ศ.2544 เป็นต้นมา ได้กำหนดจุดมุ่งหมายของการจัดการศึกษาต้องเป็นไปเพื่อพัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ทั้งทางร่างกาย จิตใจ สติปัญญา ความรู้ และคุณธรรม มีจริยธรรมและวัฒนธรรมในการดำรงชีวิต สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข การนำเสนอบทความนี้เป็นการบูรณาการแนวคิดพื้นฐานทางจิตวิทยาเกี่ยวกับพฤติกรรมตามธรรมชาติของมนุษย์ การพัฒนาเชาวน์อารมณ์ และเชาว์ปัญญา แนวคิดทางสังคมวิทยาเกี่ยวกับบรรทัดฐานทางสังคม แนวคิดการจัดการศึกษาตามผลการเรียนรู้ที่คาดหวังให้เกิดแก่ผู้เรียน และการจัดการเรียนรู้ในโลกศตวรรษที่ 21 เพื่อให้การจัดการศึกษาบรรลุตามจุดมุ่งหมาย คือ ผู้เรียนมีพฤติกรรมที่ถูกต้องเหมาะสม ดีงาม และใช้ชีวิตอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมได้อย่างมีความสุข
Article Details
อ้างอิงแหล่งที่มา
References
กาญจนา หาญศรีวรพงศ์ และพระมหามิตร ฐิตปญฺโญ. (2562). สมาธิกับการพัฒนาคุณภาพชีวิตมนุษย์. วารสารวิชาการธรรมทรรศน์, 19(1), 287-295.
ขวัญษา เอกจิตต์ และอุทัย สติมั่น. (2559). หลักไตรสิกขากับการพัฒนาตน. วารสารครุศาสตร์ปริทรรศน์, 3(2), 170-179.
เจตพล แสงกล้า และภาณี วงษ์เอก. (2558). ประชากรสามกลุ่มวัยได้อะไรจากการสวดมนต์. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์เดือนตุลา จํากัด.
ฉวีรัตน์ เกษตรสุนทร. (2562). การประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อขับเคลื่อนกิจกรรมภายในศูนย์เฝ้าระวังทางวัฒนธรรม. สืบค้นจาก https://www.thaihealth.or.th/Content/47099
ทัศน์วลัย เนียมบุปผา. (2559). รายงานพิเศษรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการชี้แผนการศึกษาฯ ต้อง ชักนำสู่การปฏิบัติได้จริง. วารสารศึกษาไทย, 13(132), 3-4.
นิรันดร์ จุลทรัพย์. (2560). กระบวนการพฤติกรรมโดยใช้หลักไตรสิกขาและแนวคิดทางจิตวิทยา.
สงขลา: ม.ป.ท.
ประพนธ์ ผาสุขยืด. (2552). ความรู้ ปัญญาและการเรียนรู้. สืบค้นจาก https://www.moe.go.th/moe/ th/news
พงศกร สุกิจญาณ. (2556). การจัดการเรียนรู้ด้วยหลักไตรสิกขาเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่องเพศศึกษาของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้น. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาสุขศึกษาและพลศึกษา, สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน, คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
พระครูกิตติโชติคุณ และคณะ. (2561). ศีลในฐานะเครื่องมือพัฒนามนุษย์. วารสารบัณฑิตศึกษามหาจุฬาขอนแก่น, 5(2), 44-54.
พระธีระ จิตตโสภโณ. (2555). ความพึงพอใจของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ต่อพุทธวิธีการสอนแบบไตรสิกขาในโรงเรียนอนุบาลจันทบุรี. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาสังคมศาสตร์เพื่อการพัฒนา, มหาวิทยาลัยราชภัฏรําไพพรรณี.
พระปลัดปรีชา คนฺธโก. (2560). ศึกษาวิเคราะห์บทบาทของไตรสิกขาในฐานะเป็นขบวนการให้เกิดญาณ 16. วารสารสันติศึกษาปริทรรศน์ มจร. 5(2), 169-180.
พระพรหมคุณาภรณ์. (ป.อ.ปยุตฺโต). (2541). ธรรมนูญชีวิต พุทธจริยธรรมเพื่อชีวิตที่ดีงาม. สืบค้นจาก https://www.watnyanaves.net/uploads/File/books/pdf/aconstitutionforlivingthai-eng.pdf
พระพรหมคุณาภรณ์. (ป.อ.ปยุตฺโต). (2545). พระไตรปิฎก: สิ่งที่ชาวพุทธต้องรู้. นนทบุรี: เอสอาร์พริ้นติ้งแมสโปรดักส์.
พระพรหมคุณาภรณ์. (ป.อ.ปยุตฺโต). (2546). พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม (พิมพ์ครั้งที่ 12). สืบค้นจาก https://www.84000.org/tipitaka/dic/d_item.php?i=37
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ. (2545). พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545. กรุงเทพมหานคร: สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา.
สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. ยุทธศาสตร์ชาติพ.ศ.2561–2580. สืบค้นจาก https://www.nesdb.go.th/download/document/SAC/NSSumPlanOct2018.pdf
สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2561). รายงานการศึกษาไทย พ.ศ. 2561. กรุงเทพมหานคร: สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ
สมชาย ปรีชาศิลปกุล. (2560). 20 ปี รัฐธรรมนูญ 2540: การปฏิรูปการเมืองไทยในอุ้งมือนักกฎหมายมหาชน. สืบค้นจาก https://www.the101.world/20-year-constitution-2540
สมพร กันทรดุษฎี เตรียมชัยศรี. (2558). รายการพบหมอรามาช่วง Big Story การสวดมนต์บำบัดโรค.สืบค้นจาก https://med.mahidol.ac.th/ramachannel/home/article
สุพัตรา ตันประเสริฐ. (2547). ผลของการฝึกปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานตามโปรแกรมการฝึกของคุณแม่สิริ กรินชัย ที่มีต่อความฉลาดทางอารมณ์ด้านการตระหนักรู้ตนเองของนักศึกษาพยาบาลที่มีลักษณะเก็บตัวและแสดงตัว. วิทยานิพนธ์ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาจิตวิทยาพัฒนาการ, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
อดิศร หนันคําจร และคณะ. (2558). คุณลักษณะที่เอื้อต่อการเรียนรู้ตามวิถีพุทธของนักศึกษา. วารสารบริหารการศึกษา มศว., 12(22), 108-114.
องค์การสหประชาชาติประเทศไทย. (2560). เป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืนของประเทศไทย. สืบค้นจาก https://www.un.or.th/globalgoals/th/resources-and-press/
Anderson, L.W. and Krathwohl, D.R. (2001). A Taxonomy for Learning, Teaching and Assessing: A Revision of
Bloom’s Taxonomy of Educational Objectives. New York: Longman.
Bloom, B.S. (1956). A Taxonomy of Educational Objectives. New York: David Mckay.
Cole, R. (1997). The Moral Intelligence of Children. London: Bloombury.