ทักษะการสื่อสารภาษาจีนของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาในประเทศไทย

Main Article Content

BINGLING ZHONG

บทคัดย่อ

ทักษะการสื่อสารภาษาจีนเป็นทักษะที่สำคัญมากสำหรับผู้ที่เรียนภาษาจีน ซึ่งทักษะการสื่อสารภาษาจีนจะประกอบด้วยทักษะ 4 ด้านคือ ทักษะด้านการฟัง พูด อ่านและเขียน บทความนี้จะวิเคราะห์ความสามารถทางภาษาจีนและทักษะการสื่อสารภาษาจีนด้านการฟัง พูด อ่าน และเขียนของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาในประเทศไทยโดยทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้องทั้งภาษาไทยและภาษาจีนรวมถึงข้อมูลที่ได้จากการประเมินของผู้เขียน ซึ่งพบว่า นักเรียนระดับมัธยมศึกษาในประเทศไทยมีทักษะการสื่อสารภาษาจีนค่อนข้างต่ำ นักเรียนส่วนใหญ่ขาดพื้นฐานทางภาษาจีน ทักษะการสื่อสารภาษาจีนด้านการฟัง พูด อ่านและเขียนของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาไม่ได้มีการพัฒนาควบคู่กันไปและครบถ้วนสมบูรณ์ ความสามารถด้านการพูดต่ำกว่าการฟัง อ่านและเขียน โรงเรียนควรมีระบบจำแนกระดับความสามารถภาษาจีนของนักเรียน และนำเทคโนโลยีต่างๆ มาใช้ ครูควรพยายามใช้ภาษาจีนในการเรียนการสอน สังเคราะห์วิธีการสอนต่าง ๆ ให้เหมาะกับผู้เรียนและเนื้อหาที่สอน การสอนควรครอบคลุมทักษะทั้ง 4 ด้าน โครงสร้างของภาษา ฟังก์ชั่นของภาษาและวัฒนธรรม ซึ่งเป็นกลยุทธ์ที่สามารถพัฒนาทักษะการสื่อสารภาษาจีนของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาได้อย่างครบถ้วนสมบูรณ์

Article Details

How to Cite
บท
บทความวิชาการ

References

กรมวิชาการ. (2542). หลักทฤษฎีการเรียนรู้ทางจิตวิทยาในการสร้างแบบฝึกเสริมทักษะ. กรุงเทพมหานคร:องค์การรับส่งสินค้าและพัสดุภัณฑ์.

กระทรวงศึกษาธิการ. (2551). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณการเกษตรแห่งประเทศไทย.

กระทรวงศึกษาธิการ. (2556). ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้ภาษาจีนตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ สกสค. ลาดพร้าว.

กุศยา แสงเดช. (2548). ภาษาอังกฤษภาคปฏิบัติสำหรับครูประถมศึกษา. กรุงเทพฯ: วี.เจ. พริ้ติ้ง.

ชัยยงค์ พรหมวงศ์ และเชาวเลิศ เลิศชโลฬาร. (2536). ระบบและการจัดระบบ. ใน ประมวลสาระชุดวิชาการจัดระบบทางการศึกษา หน่วยที่ 1 (หน้า 1-62). นนทบุรี:มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

ชัยยงค์ พรหมวงษ์. (2523). ระบบสื่อการสอนในชุดวิชาเทคโนโลยีและสื่อสาการศึกษา เล่ม 1 หน่วยที่ 1-2 (หน้า 109-142). นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

ณิชกมล โกลาวัลย์. (2561). ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้เพลงเป็นสื่อ เพื่อพัฒนาทักษะการฟังและการพูดภาษาจีนของนักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนบ้านเทอดไทย. (วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย, เชียงราย.

ธีรารัตน์ พิทักษ์พนัสกุล. (2546). การศึกษาทักษะการสื่อสารภาษาจีนของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนวุฒิวิทยา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาเอกชน จังหวัดชลบุรี (วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต) มหาวิทยาลัยบูรพา, ชลบุรี.

ธุมวดี สิริปัญญาฐิติ, ศิริเพ็ญ กำแพงแก้ว และจันทิมา จิรชูสกุล. (2559). ปัญหาการเรียนการสอน ภาษาจีนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายแผนการเรียนศิลป์ภาษาจีนเขตภาคตะวันออกของไทย.วารสารศิลปศาสตร์ปริทัศน์, 11(22), หน้า 8-19.

นิจพร จันทรดี. (2557). การพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู้การอ่านภาษาจีนเพื่อความเข้าใจด้วยรูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ของฮันเตอร์สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6. (วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต) มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, มหาสารคาม.

บุหงา คณาวรงค์. (2536). การศึกษาเปรียบเทียบความสามารถทางการฟังการพูดภาษาอังกฤษและมนุษย์สัมพันธ์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ที่ได้รับการสอนโดยการเรียนรู้ภาษาชุมชนตามแนวทฤษฎีอรรถฐานกับการสอนตามคู่มือครู (ปริญญานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต), มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร, กรุงเทพมหานคร.

ประภาพร แสนงาม. (2561). ผลการสอนภาษาจีนโดยใช้วีดิทัศน์ประกอบ ที่มีต่อความสามารถในการฟังและการพูดของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 (วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์, นครสวรรค์.

พรพรรณ กลั่นจัตุรัส. (2558). การสร้างเกมและสถานการณ์จำลองที่ส่งเสริมทักษะการสื่อสารภาษาจีนบน โทรศัพท์สมาร์โพนสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย (วิทยานิพนธ์ครุศาสตรอุตสาหกรรมมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี, กรุงเทพมหานคร.

เยาวพร ศรีระษา. (2561). การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนแบบภาษาเพื่อการสื่อสาร (CLT) ประกอบชุดสื่อ ประสม เพื่อส่งเสริมทักษะการพูดภาษาจีนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 (วิทยานิพนธ์ปริญญา การศึกษามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, มหาสารคาม.

สมุทร เซ็นเชาวนิช. (2545). เทคนิคการอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจ (พิมพ์ครั้งที่ 11). กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์ธรรมศาสตร์.
สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ. (2559). รายงานการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอนภาษาจีนในประเทศไทย สังเคราะห์ภาพรวม. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ บริษัท พริกหวานกราฟฟิค จำกัด

สุภัทรา อักษรานุเคราะห์. (2532). การสอนทักษะทางภาษาและวัฒนาธรรม. กรุงเทพฯ: การมัธยมศึกษาคณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

Zhou, C. (2019). Problems in Chinese Teaching in Middle Schools in Thailand and Countermeasures—Taking Malasawanphittaya School in Thailand’s Northern Standard Office as an example. Guangxi Normal University, China.

Lin, F. (2017). A Survey on Chinese Language Teaching Conditions of Secondary School in Nakhon Ratchasima Province Thailand—A Case of Boonwattana School. Fujian Normal University, China.

Wang, F. (2013). Discussion on the Teaching of Reading and Writing in Teaching Chinese as a Foreign Language. University Education. General Serial No. 76.

Flower, L. and J. Hayes. The Cognition of Discovery Defining a Rhetorical Problem. DAI, 1980.

Helgesen, M. (2003). Listening, In D. Nunan (Ed.), Practical English language teaching. New York: McGraw – Hill.

Zhao, H. & Lu, F. (2018). The Change of Chinese Education Policy in Thailand and the Development of Chinese Education. Journal of Henan Polytechnic University (Social Sciences), 20(1) Jan. 2019.

Zhao H. & Zhu Q. (2018). “The Belt and Road” perspective: Chinese language education and service needs in Thailand. Journal of Xi’ Shiyou University (Social Sciences).

Li, M. (2017). The Investigation Report about Chinese Language Teaching in Kham ta kla Middle School in Sakon Nakhon Province of Thailand. Henan University, China.

Kang M. (2016). The Application of Communicative Approach in the Teaching of Chinese Listening and Speaking to Thai Middle School. Xi'an International Studies University, China.

Long, P. (2014). Investigation and Research on the Effect of Chinese Teaching in Buriramphittayakhom School in Thailand. Nanjing Normal University, China.

Zhong, Q. (1979). Summary of Chinese Teaching for Foreign Students in the Past 15 Years (1950-1965). Language Teaching and Linguistic Studies. No. 4.

Rost, D. (2004). Listening in Action. London: Prentics Hall.

Wang, S. (2007). Talking about the Application of Synthetic Method in Teaching Chinese as a Foreign Language. Education and Vocation, 556(24), 146.

Liu, X. (2000). Introduction to Teaching Chinese as a Foreign Language (18th edit.) Bei Jing: Beijing Language and Culture University Press.